90 likes | 217 Views
วิสัยทัศน์จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560. ร่างแผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี. “ปทุมธานีเป็นเมืองอุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย ศูนย์การเรียนรู้ และสังคมสันติสุข”. เป้าประสงค์ การผลิตและบริการผ่านกระบวนการที่ได้มาตรฐานเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยและสินค้าชุมชนที่ได้มาตรฐาน
E N D
วิสัยทัศน์จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2557-2560 ร่างแผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี “ปทุมธานีเป็นเมืองอุตสาหกรรมสะอาด เกษตรปลอดภัย ศูนย์การเรียนรู้ และสังคมสันติสุข” เป้าประสงค์ การผลิตและบริการผ่านกระบวนการที่ได้มาตรฐานเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยและสินค้าชุมชนที่ได้มาตรฐาน ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนเป็นสุข สังคมสันติสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมกระบวนการผลิตและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1.1 ปรับระบบการบริหารจัดการไปสู่โรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) 1.2 สร้างระบบและกลไกในการควบคุมเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมตั้งแต่ระดับชุมชน 1.3 ส่งเสริมการผลิตและบริการที่สร้างสรรค์ระดับชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาขีดความสามารถในการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและสินค้าชุมชน กลยุทธ์ 2.1 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรสู่ระบบมาตรฐานปลอดภัย 2.2 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการกระจายสินค้าและตลาด 2.3 พัฒนาผู้ประกอบการสินค้าชุมชนให้มีมาตรฐาน 2.4 เพิ่มขีดความสามารถเชิงธุรกิจของผู้ประกอบการและสถาบันเกษตรกร
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและสังคมอย่างบูรณาการ กลยุทธ์ 3.1 พัฒนาชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม 3.2 เสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีทางสังคมด้วยกระบวนการเรียนรู้ 3.3 สร้างเสริมสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อเมืองน่าอยู่
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมกระบวนการผลิตและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • พัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมให้เป็นโรงงานสีเขียว • ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม • ลดต้นทุนพลังงานในสถานประกอบการ SME ในจังหวัดปทุมธานี • ส่งเสริมพลังงานสะอาดและปลอดภัยในสถานประกอบการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซในจังหวัดปทุมธานี • ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรมบริการในแหล่งท่องเที่ยว • ส่งเสริมสถานประกอบการน้ำมันเชื้อเพลิงและก๊าซที่สะอาดและปลอดภัย • พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการควบคุมเฝ้าระวังตรวจสอบระบบคุณภาพสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมการจัดการขยะโดยชุมชน • ส่งเสริมเครือข่ายแหล่งการเรียนรู้ในชุมชนที่มีศักยภาพพลังงานที่ยั่งยืนจังหวัดปทุมธานี • รณรงค์สร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานและเข้าค่ายเยาวชนรักษ์พลังงานจังหวัดปทุมธานี • พัฒนาสร้างนวัตกรรมใหม่จากวัสดุที่ไม่ใช้แล้วโดยเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด MR (Re-Innovation) • สร้างนวัตกรรมจากวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว • พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ตามอัตลักษณ์ประจำอำเภอในจังหวัดปทุมธานี • ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทนบนศักยภาพของชุมชนเพื่อประโยชน์ภายในชุมชนเพื่อประโยชน์ภายในชุมชนอย่างครบวงจร • ส่งเสริมการผลิตและการใช้เทคโนโลยีพลังงานชุมชนประสิทธิภาพสูงจังหวัดปทุมธานี • ส่งเสริมการผลิตพลังงานสะอาดจากขยะหรือของเสียในชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาขีดความสามารถในการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและสินค้าชุมชน • พัฒนามาตรฐานการเพาะเลี้ยงและการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) • ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดภัย • พัฒนาโรงฆ่าสัตว์จังหวัดปทุมธานี • การเลี้ยงโคเนื้อปลอดมลภาวะในเขตจังหวัดปทุมธานี • พัฒนาการจัดชั้นคุณภาพผักและผลไม้ ระยะที่ 2 • พัฒนาตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยและสินค้าชุมชน • ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ความยั่งยืน • พัฒนาศักยภาพสินค้าชุมชนสู่อาเซียน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและสังคมอย่างบูรณาการ • สามัคคีปรองดองเพื่อความสมานฉันท์ของประชาชนในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีประจำปี 2557 • ส่งเสริมชุมชนให้มีนวัตกรรมด้านการสื่อสารในภาวะวิกฤติ • ส่งเสริมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรวงเป็นประมุข • ส่งเสริมการผลิตและการใช้พลังงานทดแทนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังและบริการแรงงานระดับชุมชน • การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร • สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม มิติวัฒนธรรม • ตลาดชุมชนด้านการเรียนรู้ ตำนานร้อยปีประตูน้ำจุฬาลงกรณ์ • พัฒนาศูนย์เรียนรู้ทางวัฒนธรรม : จัดศูนย์ประวัติศาสตร์เมืองปทุมธานี ระยะที่ 3 • สงกรานต์ปลอดเหล้าถนนข้าวแช่ • พัฒนาศักยภาพการใช้ภาษาในการสื่อสารเพื่อรองรับ AEC • ครอบครัวอบอุ่นด้วยพระธรรม • ฝึกอบรมภาษาต่างประเทศและอาชีพด้านการท่องเที่ยวเพื่อรองรับการเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • ผลิตน้ำร้อนล้างตลาดด้วยก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในตลาดชุมชนจังหวัดปทุมธานี • เพิ่มพื้นที่สีเขียวจังหวัดปทุมธานี • ศูนย์การเรียนรู้การจัดการขยะและการผลิตขยะเชื้อเพลิง (RDF) • ควบคุมประชากรสุนัขและแมวในชุมชน