1 / 36

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 – 2560 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 – 2560 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). เหตุผลและความจำเป็น. เงื่อนไขและข้อกำหนดของสำนักงาน ก.พ.ร . เนื้อหาของแผนยุทธศาสตร์ 5 ประเด็น. เนื้อหาของแผนปฏิบัติงานประจำปี 6 ประเด็น.

kumiko
Download Presentation

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 – 2560 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 – 2560 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

  2. เหตุผลและความจำเป็น

  3. เงื่อนไขและข้อกำหนดของสำนักงาน ก.พ.ร. เนื้อหาของแผนยุทธศาสตร์ 5 ประเด็น เนื้อหาของแผนปฏิบัติงานประจำปี 6ประเด็น

  4. สาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 - 2560

  5. 1. ข้อมูลพื้นฐาน อพท.

  6. โครงสร้างการบริหารงานปัจจุบันโครงสร้างการบริหารงานปัจจุบัน นายกรัฐมนตรี คณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน สำนักตรวจสอบภายใน ผู้อำนวยการ อพท. สำนักบริหารยุทธศาสตร์ งานประชาสัมพันธ์ รองผู้อำนวยการ อพท. (1) รองผู้อำนวยการ อพท. (2) • สำนัก • บริหารกลาง • สำนักแผน พัฒนาพื้นที่พิเศษ • สำนักงาน • พื้นที่พิเศษ 1 • สำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน • สำนักงาน • พื้นที่พิเศษ 4 • สำนักงาน • พื้นที่พิเศษ 7 • สำนักงาน • พื้นที่พิเศษ 3 หมาเยเหตุ: พื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง (สพพ. 1) พื้นที่พิเศษเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง (สพพ. 3) พื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – กำแพงเพชร (สพพ. 4) พื้นที่พิเศษเลย (สพพ. 5) พื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน (สพพ.6) พื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง (สพพ. 7) • สำนักงาน • พื้นที่พิเศษ 5 • สำนักงาน • พื้นที่พิเศษ 6

  7. กรอบอัตรากำลัง ณ ปัจจุบัน ( 1 มีนาคม 2556) หน่วย: คน 112 คน

  8. คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานปี พ.ศ. 2551 - 2555 5.0 4.9483 4.8714 4.8145 4.5 Bonus Line 4.0 3.8863 3.5 3.4971 3.0 0.0 2551 2552 2553 2554 2555

  9. ผลการประเมินสถานะองค์กรในปัจจุบันผลการประเมินสถานะองค์กรในปัจจุบัน ผลการประเมินสถานะขององค์กร พบว่า อยู่ในสถานะ SO Strategy กล่าวคือ อพท. สามารถใช้จุดแข็งของตนเองที่มีอยู่ในการดำเนินภารกิจ เช่น การเป็นหน่วยงานขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี สามารถทำงานสนองตอบต่อนโยบายได้โดยตรง ผู้บริหารและบุคลากรมีมีความรู้ความสามารถในการทำงาน โครงสร้างองค์กรมีความยืดหยุ่น นอกจากนี้ อพท. ยังสามารถแสวงหาโอกาสจากภายนอก เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ที่มุ่งเน้นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นโอกาสของ อพท. ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ Creative tourism นโยบายเร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศของรัฐบาล เป็นโอกาสให้ อพท. ดำเนินนโยบาย Co-Creation, Low Carbon Tourism, Creative Tourism เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวคุณภาพ และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่พิเศษ เป็นต้น

  10. 2. แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 - 2560

  11. ความสอดคล้องภารกิจ อพท. กับ นโยบายรัฐบาล นโยบายเร่งด่วน นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี - พัฒนาระบบราชการอย่างต่อเนื่อง เน้นการบริหารเชิงกลยุทธ์ในระดับชาติอย่างมีวิสัยทัศน์และมุ่งผลสัมฤทธิ์ - เสริมสร้างประสิทธิภาพของระบบการบริหารงานแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นการจัดการความรู้และพัฒนาส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ - เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล และพัฒนาความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน - สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยคำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมตามศักยภาพของท้องถิ่น - ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารราชการแผ่นดิน - เร่งเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งในและนอกประเทศ - สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการสร้างเอกลักษณ์และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น - อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เป็นเอกลักษณ์และมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ - นำทุนทางวัฒนธรรมของประเทศมาสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ - ส่งเสริมการท่องเที่ยวจากทั้งภายนอกและภายในประเทศ - ยกระดับความสามารถในการแข่งขันให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ - ยกระดับภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเข้าสู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ปัญญา เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น - เร่งพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม อยู่ร่วมกับชุมชนได้ และลดภาวะโลกร้อน - ปรับปรุงมาตรการส่งเสริมการลงทุนให้ครอบคลุมการให้สิทธิประโยชน์แก่ธุรกิจในภาคการท่องเที่ยว โดยเน้นกิจการที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม

  12. ความสอดคล้องภารกิจ อพท. กับแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสินค้า บริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.1 พัฒนายกระดับคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเชิงกลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.3 การยกระดับและมาตรฐานของแหล่งท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.1 การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กิจกรรม นวัตกรรม และมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.2 การเสริมสร้างโอกาสและแรงจูงใจเพื่อพัฒนา การค้าการลงทุนด้านการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.3 การพัฒนามาตรฐานสินค้าและบริการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.4 การป้องกันและรักษาความปลอดภัยทางการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4.1 สร้างและเผยแพร่ภาพ ลักษณ์ด้านการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5.1 การสร้างและพัฒนากลไกในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว

  13. 3. กรอบแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2557 - 2560

  14. วิสัยทัศน์ อพท. “อพท. ประสานทุกภาคีเพื่อการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน”

  15. พันธกิจ/ภารกิจ • ประสาน กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่าย ภาคเอกชน และประชาชน ทั้งด้านการใช้อำนาจและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น • ส่งเสริม ให้พื้นที่ท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ ให้มีการบริหารจัดการการท่องเที่ยว ด้วยการระดมบุคคลากรงบประมาณ เครื่องมือเครื่องใช้ และองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุผลของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน • สนับสนุน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืนในรูปแบบ Co-Creation “โคครีเอชั่น”

  16. วัตถุประสงค์ อพท. จัดตั้งขึ้นตามเหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) พ.ศ.2546 โดยเป้าหมายการทำงานเป็นไปตามนโยบายรัฐบาลที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มรายได้และกระจายรายได้ไปสู่ชุมชนท้องถิ่น ภายใต้กรอบนโยบายในการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนให้เกิดความสมดุล 3 มิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม

  17. 1. Co-Creation 2. Low Carbon Tourism DASTA Policies in Fiscal Year “2014 - 2017” 3. Creative Tourism 4. การดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายการพัฒนา นโยบายการดำเนินงาน

  18. ยุทธศาสตร์ อพท. 1. การประสานการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. การพัฒนาสินค้าบริการและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว 6. การให้บริการด้านองค์ความรู้เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ อพท. 3. การส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษและการท่องเที่ยวชุมชน 4. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษ 5. การสร้างเครือข่ายการพัฒนาทุกภาคส่วน

  19. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และกลยุทธ์

  20. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ (ต่อ)

  21. ผลผลิต

  22. แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) 1.เพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยว และสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างสมดุล 2. ศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น ได้รับการพัฒนาและอนุรักษ์ 3. สิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่พิเศษได้รับการดูแลและรักษาเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน 4. ยกระดับมาตรฐานการให้บริการและการบริหารจัดการ เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว 5. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คุณภาพการให้บริการ 6. สร้างความพึงพอใจให้กับนักท่องเที่ยวและภาคีเครือข่ายการพัฒนา 7. ให้บริการด้านองค์ความรู้เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 13. บริหารงบประมาณและปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ 9.ส่งเสริม ยกระดับการพัฒนาพื้นที่พิเศษที่มีศักยภาพในด้านการท่องเที่ยว 8. กำหนดพื้นที่พิเศษที่มีศักยภาพ พร้อมจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 11. พัฒนาสินค้า บริการ และสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน 10. ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษ 12. ส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การกำกับดูแลกิจการและพัฒนาองค์การ 14. สร้างและพัฒนาองค์ความรู้และฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการท่องเที่ยว 15. พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรและองค์กร 16. พัฒนาระบบกำกับดูแลกิจการและธรรมาภิบาลภายในองค์กร

  23. เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามแผนที่ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามแผนที่ยุทธศาสตร์

  24. เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามแผนที่ยุทธศาสตร์ (ต่อ)

  25. เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามแผนที่ยุทธศาสตร์ (ต่อ)

  26. เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามแผนที่ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามแผนที่ยุทธศาสตร์

  27. พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน 5 พื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชร 3 4 พื้นที่พิเศษเลย พื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง 6 พื้นที่พิเศษเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง 2 1 พื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง

  28. กรอบแผนปฏิบัติงาน 4 ปี (พ.ศ. 2557 - 2560)

  29. กรอบแผนปฏิบัติงาน 4 ปี (พ.ศ. 2557 - 2560)

  30. กรอบแผนปฏิบัติงาน 4 ปี (พ.ศ. 2557 - 2560)

  31. กรอบแผนปฏิบัติงาน 4 ปี (พ.ศ. 2557 - 2560)

  32. กรอบแผนปฏิบัติงาน 4 ปี (พ.ศ. 2557 - 2560)

  33. กรอบแผนปฏิบัติงาน 4 ปี (พ.ศ. 2557 - 2560)

  34. การติดตามประเมินผล

  35. DASTA Value D ทุ่มเทมุ่งมั่น Determination A ประสานภาคี Alliance S มีใจบริการ Service Mind T ทำงานเป็นทีม Teamwork A ยิ้มฟังชุมชน Audience

More Related