270 likes | 454 Views
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2556 กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์. แผนการดำเนินงานที่สำคัญประจำปีงบประมาณ 2556. การตรวจวิเคราะห์ การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ ด้านมาตรฐานห้องปฏิบัติการ การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC การปรับปรุงการปฏิบัติงาน.
E N D
ผลการดำเนินงานที่สำคัญผลการดำเนินงานที่สำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2556 กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์
แผนการดำเนินงานที่สำคัญประจำปีงบประมาณ 2556 การตรวจวิเคราะห์ การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ ด้านมาตรฐานห้องปฏิบัติการ การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC การปรับปรุงการปฏิบัติงาน
การตรวจวิเคราะห์(1) การตรวจวิเคราะห์สารไดออกซิน *พัฒนาและทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์สารไดออกซิน ด้วยวิธี GC–HRMS เพื่อตรวจในวัตถุดิบอาหารสัตว์ ผล * อยู่ในขั้นตอนการ Set เครี่องวิเคราะห์และการเตรียม ตัวอย่างที่เหมาะสมกับตัวอย่างแต่ละชนิด * จะสามารถออกรายงานผลวิเคราะห์ได้ในเดือนกันยายน
การตรวจวิเคราะห์(2) การตรวจวิเคราะห์เชื้อ Yersinia enterocolitica *สุ่มตรวจในตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ผลิตในประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลสำรวจการปนเปื้อนเชื้อในประเทศไทย * เตรียมพร้อมรองรับกฎระเบียบของประเทศผู้นำเข้าเนื้อสัตว์จากไทย ผล ตรวจในตัวอย่างเนื้อสัตว์ 4 ชนิดคือ สุกร ไก่ โค แพะ จำนวนรวม 325 ตัวอย่าง พบเชื้อในเนื้อสุกร 3 ตัวอย่าง จาก 275 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 1
การตรวจวิเคราะห์(3) • การตรวจสารเร่งเนื้อแดง(Beta-agonist) ในอาหารโค • ตรวจวิเคราะห์สารเร่งเนื้อแดงในตัวอย่างอาหารโคทั้งหมด 314 ตัวอย่าง ผล พบสารเร่งเนื้อแดง 128 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 40 ของ ตัวอย่างที่ตรวจ พบในระดับ 174.81 – 39,092.74 ppb
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ (1) • พัฒนาวิธีวิเคราะห์ยาสัตว์ตกค้างตามข้อเสนอแนะของ FVO สารกลุ่ม Antibiotics • พัฒนาวิธีตรวจยาสัตว์ตกค้าง 6 ชนิด Ampicillin, Tilmicosin, Colistin, Diclazuril, Toltrazuril, Robinidine ผลดำเนินการเสร็จ 1 วิธี คือ Ampicillin ส่วนอีก 5 สาร ยังไม่แล้วเสร็จเนื่องจากเครื่อง LC-MS/MS เสียจำนวน 2 เครื่อง จึงต้องรองรับการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างตามกิจกรรมปกติก่อน - สาร Amitraz ในน้ำผึ้ง
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ (2) • พัฒนาวิธีวิเคราะห์ยาสัตว์ตกค้างตามข้อเสนอแนะของ FVO สารกลุ่ม Coccidiostats • การทดสอบความใช้ได้ของวิธีทดสอบสารกลุ่ม Coccidiostatในอาหารสัตว์ ผล ดำเนินการทดสอบพารามิเตอร์ต่างๆแล้ว อยู่ในขั้นตอนการสรุป ประมวลผล จัดทำรายงานและนำไปใช้ปฏิบัติงาน
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ (3) • พัฒนาวิธีวิเคราะห์ยาสัตว์ตกค้างตามข้อเสนอแนะของ FVO Amitraz ในน้ำผึ้ง ผล ดำเนินการสำเร็จแล้วประมาณ 50 %
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ (4) • พัฒนาวิธีวิเคราะห์ตามนโยบาย พัฒนาวิธีวิเคราะห์สารไนเตรท ไนไตรท์ ในรังนก ผล อยู่ในระหว่างทำการทดสอบประสิทธิภาพเครื่องHPLCที่ใช้ตรวจวัด โดยขอความอนุเคราะห์รังนกดิบจากบริษัทเอกชนมาเพื่อทำการทดลอง
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ (5) พัฒนาวิธีวิเคราะห์ตามแผนงานภารกิจ *วิธีวิเคราะห์ที่พัฒนาเสร็จแล้วนำไปใช้ปฏิบัติงานได้ - วิธีทดสอบการปลอมปนขนไก่ป่นในปลาป่นด้วยวิธี NIR - วิธีทดสอบผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายด้านการปศุสัตว์ จำนวน 4 รายการ ได้แก่ cyromazine, dichlovos, diazinon และ fipronil - การวิเคราะห์สารกลุ่มPhenol ในผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย - สารตกค้างยาสัตว์กลุ่ม Tetracycline ในน้ำผึ้งโดยเทคนิค LC-MS/MS
การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ (6) • พัฒนาวิธีวิเคราะห์ตามแผนงานภารกิจ * พิสูจน์ความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ - Mycotoxin ในอาหารสัตว์และวัตถุดิบโดยวิธี Fluorometry และด้วยเครื่อง HPLC - แคดเมี่ยมในกากถั่วเหลือง (wet digestion) - การทดสอบหาเชื้อ Enterobacteriaceae ในอาหารสัตว์ - Amitraz ในผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย
ด้านมาตรฐานห้องปฏิบัติการ (1) ขยายขอบข่ายการยื่นขอรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ISO/IEC 17025: 2005 *ด้านอาหารสัตว์ยื่นขอใหม่ 12 ขอบข่าย * ด้านยาสัตว์ได้รับการรับรองเพิ่มเติม 3 ขอบข่าย
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC (1) จัดหลักสูตรฝึกอบรมด้านการตรวจวิเคราะห์ยาสัตว์ตกค้าง ตามกิจกรรม ASEAN Food Reference Lab for Veterinary drug Residue (AFRL)ให้กับประเทศสมาชิกอาเซียน 1 หลักสูตร * มีผู้เข้าอบรม 17 คน จาก 7 ประเทศ โดยมีเนื้อหาในการฝึกอบรมทั้งภาคบรรยายและภาคปฏิบัติ คือ ความรู้เกี่ยวกับสารตกค้างยาสัตว์กลุ่ม beta-Agonists การตรวจวิเคราะห์สารตกค้างกลุ่ม beta-Agonists แบบคัดกรอง (Screening test) ด้วยเทคนิค ELISA และแบบยืนยันผล (Confirmatory test) ด้วยเทคนิค LC-MS/MS การแปลผลและการรายงานผลการตรวจวิเคราะห์
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC(2)การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC(2) เตรียมพร้อมเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ชั้นสูงที่มีความสามารถในการตรวจสารตกค้างในสินค้าปศุสัตว์ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น * ได้รับงบประมาณจัดซื้อเครื่องมือวิเคราะห์ชั้นสูง 9 รายการ โดยส่งมอบติดตั้งครบทุกรายการแล้ว * ตรวจวัดได้ระดับต่ำถึง หนี่งในพันล้านส่วน (ppb)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC(3)การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC(3) • เตรียมพร้อมเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ชั้นสูงที่มีความสามารถในการตรวจสารตกค้างในสินค้าปศุสัตว์ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น * ตรวจได้หลากหลายชนิด ได้แก่ • สาร melamine & analoque, Pesticides, PCBs ในอาหารสัตว์ • Coccidiostats, Carbadox ในอาหารสัตว์ • สารกลุ่ม Nitrofurans, Fluoroquinolones, Beta-agonist ในอาหารสัตว์ • สารพิษจากเชื้อรา Deoxynivalenol(DON), Zearalenone และ Alpha Zearalenolในอาหารสัตว์ • วิตามินและตัวยา
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC(4)การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับAEC(4) • เตรียมพร้อมเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ชั้นสูงที่มีความสามารถในการตรวจสารตกค้างในสินค้าปศุสัตว์ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น • ตรวจจำแนกชนิดธาตุ (Speciation)และตรวจโลหะหนัก สารหนู • ตรวจสาร nontargetunknown • หาพันธุกรรม (ยีน) ที่ทำให้เชื้อแบคทีเรีย ดื้อต่อยาต้านเชื้อจุลชีพ ตรวจได้ในระดับ 1 copy ของสารพันธุกรรมในสารละลายตัวอย่าง • ตรวจนับจำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมดในน้ำนมดิบ สามารถตรวจได้ในระดับ 1,500-10,000,000 cfu/ml
การถ่ายโอนภารกิจการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการการถ่ายโอนภารกิจการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ • กรมปศุสัตว์ถ่ายโอนงานบริการตรวจวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์ (เฉพาะกิจกรรมการทดสอบที่คิดค่าบริการ) ให้ห้องปฏิบัติการทดสอบเอกชนดำเนินการตรวจวิเคราะห์แทน ตั้งแต่พ.ศ. 2554 *ปี 2555 มีจำนวน 38 แห่ง * ปี 2556 จำนวน เพิ่มขึ้นเป็น 47 แห่ง
แผนการดำเนินงานที่สำคัญแผนการดำเนินงานที่สำคัญ ประจำปีงบประมาณ 2557 กิจกรรมตรวจสอบรับรองคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ สำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ 18
ความปลอดภัยด้านอาหาร(Food safety)(1) • เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์ ด้านสารพิษ สารตกค้าง สารปนเปื้อนในสินค้าปศุสัตว์ • พัฒนาวิธีวิเคราะห์ *Zearalenone แล Zearalenol ในอาหารสุกร โดยวิธี LCMS *Deoxynivalenol (DON) ในอาหารสุกร โดยวิธี LCMS *วิธีที่สามารถตรวจวิเคราะห์สารตกค้างหลายชนิด (Multi-residues) ในคราวเดียว แบบคัดกรอง (Screening test)ด้วยเทคนิค(UHPLC- QToF)
ความปลอดภัยด้านอาหาร(Food safety)(2) • พัฒนาวิธีวิเคราะห์ *สารตกค้างกลุ่ม Sulfonamides ในตัวอย่างน้ำผึ้ง โดยเทคนิค LC-MS/MS *วิธีวิเคราะห์ content of tylosin *Olaquindox และกลุ่ม Nitroimidazole ในอาหารสุกร ด้วยวิธี LC-MS/MS
ความปลอดภัยด้านอาหาร(Food safety)(3) • การศึกษารูปแบบการดื้อยาและพันธุกรรมที่ควบคุมการดื้อยาของเชื้อ Salmonella serogroup ที่แยกได้จากตัวอย่างส่งตรวจสำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ ปีงบประมาณ 2557 • เพิ่มปริมาณการตรวจนับจำนวนจุลินทรีย์ในตัวอย่างน้ำนมดิบรายฟาร์ม ได้เพิ่มขึ้นเดือนละประมาณ 100 ตัวอย่าง • พัฒนาห้องปฏิบัติการวัตถุอันตราย ปี 2557 – 2558 (Capacity Building on Hazardous Substances in Livestock Production Testing Laboratory)ซึ่งเป็นผลจากการได้รับความช่วยเหลือจาก FAO
ความปลอดภัยด้านอาหาร(Food safety)(4) • ขยายขอบข่ายเพื่อยื่นขอรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ISO/IEC 17025:2005จำนวน 3 ขอบข่าย *การตรวจไนโตรฟูแรนส์โดยการสกัดตัวอย่างแบบ total * Coliform ในน้ำนม * Standard plate count ในน้ำนม
การถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์(Out source)(1) • แผนการดำเนินงานการถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์ ปีงบประมาณ 2557 1) แผนการตรวจประเมินเพื่อเฝ้าระวังความสามารถด้านการทดสอบ ตรวจประเมินความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบเอกชนที่รับการถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์ และได้ขึ้นทะเบียนไว้ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554-2556 จำนวน 47 แห่ง 2) แผนการตรวจประเมินความสามารถด้านการทดสอบของห้องปฏิบัติการเอกชนที่ขอรับถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้า ปศุสัตว์
การถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์(Out source)(2) • แผนการดำเนินงานการถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์ ปีงบประมาณ 2557 ตรวจประเมินความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบเอกชนรายใหม่หรือรายเดิมที่ขอขยายขอบข่ายรายการทดสอบเพิ่มเติม จำนวน 15 แห่ง 3) แผนการจัดเตรียมตัวอย่างทดสอบความชำนาญห้องปฏิบัติการ จำนวน 2 รอบ รวม ประมาณ 700 ตัวอย่าง โดยได้รับงบประมาณค่าจ้างเหมาบริการ 3,850,000 บาท
การถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์(Out source)(3) • แผนการดำเนินงานการถ่ายโอนภารกิจด้านการวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์ ปีงบประมาณ 2557 4) แผนการถ่ายโอนภารกิจการตรวจวิเคราะห์สินค้าปศุสัตว์เพิ่มเติม *อาหารสัตว์ :Nitrofuran group, Oxytetracycline, Chlortetracycline วิธี screening test * อาหารกระป๋อง : วิธี Microbiological Testing * Dog Chew : Salmonella spp., Enterobactericeaeวิธี Microbiological Testing
ปรับปรุงสถานที่ทำงาน(1) จัดหาอาคารทดแทนอาคารงานซ่อมบำรุงที่ชำรุด
ปรับปรุงสถานที่ทำงาน(2)ปรับปรุงสถานที่ทำงาน(2) วางระบบจัดการของเสียจากห้องปฏิบัติการ