340 likes | 469 Views
การบูร ณา การแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ และ แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน : บทบาทของหน่วยงานในการจัดเตรียมแผนงาน/โครงการ. วันจันทร์ที่ 21 มกราคม 2556 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้อง Sapphire ชั้น 2 โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ. ประเด็นนำเสนอ. ความเป็นมา
E N D
การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ และแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน: บทบาทของหน่วยงานในการจัดเตรียมแผนงาน/โครงการ วันจันทร์ที่ 21 มกราคม 2556 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้อง Sapphire ชั้น 2 โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ
ประเด็นนำเสนอ • ความเป็นมา • ผลการวิเคราะห์การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • บทบาทของหน่วยงานในการจัดเตรียมแผนงาน/โครงการเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • การดำเนินงานในระยะต่อไป
ความเป็นมา วันที่ 29 มีนาคม 2555 ครม. เห็นชอบตามที่ นรม. เสนอให้มีการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 โดยการให้ความรู้ความเข้าใจและข้อมูลแก่ประชาชน รวมทั้งให้มีการจัดทำแผนแม่บทในการดำเนินการ โดยบูรณาการแนวทางการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐในแต่ละภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยมอบหมายให้ สศช. ดำเนินการร่วมกับ สลค. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการจัดทำแผนแม่บทดังกล่าว พร้อมกรอบระยะเวลาในการดำเนินการเรื่องต่างๆ โดยให้นำผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการพิจารณาดำเนินการ แล้วนำเสนอ ครม. ต่อไป วันที่ 26 มิถุนายน 2555 ครม. เห็นชอบตามที่ นรม. เสนอให้กระทรวง ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ทบทวน/ปรับปรุงแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 โดยให้ สศช. รวบรวมและเป็นเจ้าภาพจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการแผนฯในภาพรวมจัดทำเป็นแผนแม่บทต่อไป วันที่ 26 กรกฎาคม 2555 สศช. ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 1 โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสรุปแผนงาน/โครงการหลักและจัดลำดับความสำคัญ เพื่อบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานใน 3 เสาหลัก และวิเคราะห์ภาพรวมความพร้อม/ไม่พร้อม และความได้เปรียบ/ เสียเปรียบในการแข่งขันแต่ละด้าน รวมทั้งบูรณาการประเด็นด้านทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเชิงพื้นที่ และปัจจัยสนับสนุนต่างๆ วันที่ 13 ตุลาคม 2555 สำนักงาน ก.พ. เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงหรือเทียบเท่า (วาระพิเศษ) ครั้งที่ 7/2555 โดยเป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อร่วมกันวางยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ เป้าหมายและแนวทางในการทำงานร่วมกันในปีงบประมาณ 2556 และเป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณปี 2557 โดย สศช. ได้นำเสนอยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) เพื่อนำไปสู่การระดมความเห็น และกำหนดแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐในเชิงบูรณาการ
ความเป็นมา วันที่ 24 ตุลาคม 2555 สศช. ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 2 โดยมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนปฏิบัติการเชิงบูรณาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 ครม. มีมติรับทราบการบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ เพื่อเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณประจำปี 2557 และผลการประชุมเชิงปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ครั้งที่ 2 ตามที่ สศช. เสนอ โดยมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ และแผนปฏิบัติการการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 เพื่อให้สำนักงบประมาณนำไปใช้ประกอบการพิจารณางบประมาณให้สอดคล้องกับปฏิทินงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 และจัดส่งให้ สศช. ภายในวันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 เพื่อบูรณาการและนำเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 สศช. ร่วมกับสำนักงบประมาณ ประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น54 หน่วยงาน วันที่ 6 ธันวาคม 2555 สศช. ร่วมกับสำนักงบประมาณ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ประชุมเพื่อพิจารณาผลการบูรณาการแผนปฏิบัติการฯ วันที่ 7 มกราคม 2556 สศช. ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ และแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 3 โดยมี นรม. เป็นประธาน มีผู้เข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย คณะรัฐมนตรี หัวหน้าส่วนราชการระดับปลัดกระทรวง และหน่วยงานขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี รวม ๓๒ หน่วยงาน
ประเด็นนำเสนอ • ความเป็นมา • ผลการวิเคราะห์การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • บทบาทของหน่วยงานในการจัดเตรียมแผนงาน/โครงการเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • การดำเนินงานในระยะต่อไป
การบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศกับยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนการบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศกับยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ก่อนบูรณาการ หลังบูรณาการ ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Strategy) 4 ยุทธศาสตร์ Growth & Competitiveness Inclusive Growth Green Growth Internal Process 28 ประเด็นหลัก 56 แนวทางการดำเนินการ 8 ยุทธศาสตร์ การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้า และการลงทุน การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน การเสริมสร้างความมั่นคง การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน 4 ยุทธศาสตร์ (ผนวกรวมประเด็นอาเซียนแล้ว) Growth & Competitiveness Inclusive Growth Green Growth Internal Process 30 ประเด็นหลัก 80 แนวทางการดำเนินการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศ 2. Inclusive Growth 1. Growth & Competitiveness การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว/บริการ เชื่อมโยง ศก. ภูมิภาค Competitiveness Development พัฒนาพื้นที่/เมือง โครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน วิจัยและพัฒนา การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เมือง อุตสาห- กรรมเชิงนิเวศ ลด การปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (GHG) นโยบายการคลังเพื่อสิ่ง แวดล้อม บริหารจัดการทรัพยากรธรรมขาติ การเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศ 3. Green Growth 4. Internal Process
สินค้า/บริการ ที่มีศักยภาพในการแข่งขันเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ได้เปรียบ 10 9 8 7 6 3 4 6 7 9 5 8 0 พร้อม 5 4 วิเคราะห์ศักยภาพจากความได้เปรียบ/เสียเปรียบ – ความได้เปรียบ/เสียเปรียบวัดจากความสามารถของอุตสาหกรรมที่สามารถส่งออกสินค้าและบริการได้ และมีศักยภาพในการแข่งขันบนเวทีโลก – ความพร้อม/ไม่พร้อมวัดจากปัจจัยสนับสนุน (Enabling Factors) ภายในประเทศที่ส่งเสริมอุตสาหกรรม/สินค้าและบริการ 3 0 9
ภาคการผลิตและบริการที่มีศักยภาพในการแข่งขันภาคการผลิตและบริการที่มีศักยภาพในการแข่งขัน 6 อุตสาหกรรมเดิมที่เป็นฐานรายได้ประเทศ เกษตร 5 ข้าว ผลิตภัณฑ์ยาง อุตสาหกรรมอนาคต บริการ ยางพารา อาหาร (ผลไม้ อาหารทะเล เนื้อสัตว์แปรรูป) อุตสาหกรรมพลังงานสะอาด ท่องเที่ยว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปิโตรเคมี/พลาสติก ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (อาหารเสริม เครื่องสำอาง ยาสมุนไพร ยาแผนโบราณ เครื่องมือแพทย์ ผลิตภัณฑ์ยา) ค้าปลีก/ค้าส่ง ผลไม้ Biochemical products/ Bio-plastic/ Bio Materials ก่อสร้าง Biodiesel/Ethanol พืชพลังงาน (มันสำปะหลัง/อ้อย/ปาล์มน้ำมัน) ยานยนต์ อุตสาหกรรมอากาศยาน สื่อสารและโทรคมนาคม ประมง ปศุสัตว์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (ออกแบบ แฟชั่น อัญมณี โฆษณา สถาปัตยกรรมหุ่นยนต์ OTOP) บริการสุขภาพ Growth rate per year= 2.8 %ต่อปี 2555-60, 4.2 %ต่อปี 2561-70 Growth rate per year= 7.8 %ต่อปี 2555-60, 5.1 %ต่อปี 2561-70 Growth rate per year= 6.1% ต่อปี 2555-60, 5.2 %ต่อปี 2561-70 ที่มา: การวิเคราะห์โดย สศช. และแผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 2555-2574
ผลการวิเคราะห์การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศผลการวิเคราะห์การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ สรุปแผนงาน/โครงการทั้งหมด
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการสำคัญ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง โครงการที่ควรดำเนินการเพิ่มเติม จัดทำ software ภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่นที่สำคัญในรถแท็กซี่และแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวต่างชาติ 13
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการสำคัญ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การลดความเหลื่อมล้ำ โครงการที่ควรดำเนินการเพิ่มเติม การสร้างโอกาสการทำงานให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส 14
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการสำคัญ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมนิเวศ 10 แห่ง การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) นโยบายการคลัง เพื่อสิ่งแวดล้อม ฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติและการบริหารจัดการน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ทส. 1.ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคของเสียและภาคป่าไม้ 2.ป้องกันและลดผลกระทบในภาคเกษตร 3.ป้องกัน เฝ้าระวังและเตือนภัยพิบัติทางธรรมชาติ 4.บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 5.พัฒนาบุคลากร องค์กร ทส. 1.แผนดำเนินงานการลด ก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ทส. 1.ปลูกป่า 2.จัดทำFlood way 3.จัดตั้งศูนย์ ASEAN Center Biodiversity &Natural Science Research 4.พัฒนาฐานข้อมูลกลางอาเซียนและนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม ทส. 1.ประเมินคุณภาพสิ่งแวด ล้อมในเมืองฯนิเวศ 2.ติดตามตรวจสอบ แหล่งกำเนิดมลพิษ 3.เสริมสร้างสมรรถนะอปท.ในการจัดการขยะ/ของเสียอันตราย กค. 1.ศึกษาแนวทางการนำมาตรการทางด้านการคลังมาใช้ในการจัดการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 2.จัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3.ปรับปรุงระบบภาษีรถยนต์สอดคล้องการปล่อยมลพิษ CO2 พน. 1.ปรับราคาขายปลีกก๊าซ LPG ให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง 2.ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติตามแผนแม่บท 3.ซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน 4.สถานีผลิตพลังงานสีเขียว (DGG) (biogas ชุมชน ชีวมวล แสงอาทิตย์) 5.แก้ไขกฎหมายที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนาพลังงานทดแทน วช. 1.วิจัยศึกษาการพัฒนาการผลิตพลังงานทางเลือกในอาเซียน อก. 1.จัดทำแผนแม่บทเมืองฯนิเวศ 2.ดำเนินการตามแผนแม่บทฯ 3.ส่งเสริมและพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศปัจจุบันและอนาคต เช่น ศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมความปลอดภัยและคุณภาพสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม 4.การจัดการกากของเสียอันตราย(เตาเผา) กษ. 1.ลดการปล่อยก๊าซภาคเกษตร ทส. 1.การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2.แผนส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ ปี 2556-2559 คค. 1.ป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล 23 จังหวัด โครงการที่ควรดำเนินการเพิ่มเติม สร้าง Green Demand ออกฉลากเขียว (สินค้า/บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและประหยัดพลังงานในการผลิต 15
ตัวอย่างแผนงาน/โครงการสำคัญ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างสมดุลและปรับระบบบริหารจัดการภายในภาครัฐ • โครงการที่ควรดำเนินการเพิ่มเติม • จัดตั้ง one-stop service เพื่อบริการประชาชนในด้านต่างๆ และระบบส่งต่อผู้รับบริการระหว่างหน่วยงาน • ใช้ระบบ ICT ในการตรวจสอบข้อมูลของส่วนราชการให้เป็นฐานเดียวกัน 16
ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 19
ประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ประเด็นนำเสนอ • ความเป็นมา • ผลการวิเคราะห์การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • บทบาทของหน่วยงานในการจัดเตรียมแผนงาน/โครงการเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • การดำเนินงานในระยะต่อไป
การดำเนินงานของหน่วยงานการดำเนินงานของหน่วยงาน จากการประชุมเชิงปฏิบัติการการบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศฯ ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2556 ณ ตึกสันติไมตรีหลังนอก ทำเนียบรัฐบาล โดย นรม. มีข้อสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ • จัดทำโครงการที่มีความสำคัญสูง (Flagship project)ที่จะดำเนินการระหว่างปี 2556-2561ที่ตอบสนองต่อเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ใน 4 ด้าน ประกอบด้วย การเพิ่มรายได้จากฐานเดิม การสร้างรายได้จากโอกาสใหม่ การเพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขัน และการลดต้นทุน (โดยแต่ละโครงการสามารถระบุเป้าหมายที่สอดคล้องได้เพียงเป้าหมายเดียวจาก 4 เป้าหมาย) จำนวนไม่เกิน 10 โครงการ พร้อมจัดลำดับความสำคัญ โดยมีรายละเอียด ประกอบด้วย - เป้าหมาย - กิจกรรม (ปีงบประมาณ 2556-2557 ระบุรายละเอียดกิจกรรมเป็นรายไตรมาส และให้แสดงเป็นรายปีสำหรับ ปีงบประมาณ 2558-2561) - แนวทางการดำเนินงาน - วงเงินงบประมาณในแต่ละปี โดยในช่วงปีงบประมาณ 2556-2557 ให้แสดงเป็นรายไตรมาส สำหรับปีงบประมาณ 2558-2561 ให้แสดงเป็นรายปี - ผลผลิต/ผลลัพธ์ของแต่ละกิจกรรมรายไตรมาสและรายปีที่สอดคล้องกับการแสดงรายละเอียดงบประมาณ - หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งจัดทำรายละเอียดตามแบบฟอร์มที่ 1 และ 2 2.เสนอแนะเพิ่มเติมประเด็นที่ต้องเร่งดำเนินการก่อนการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 จากที่ สศช. เสนอไว้ ทั้งนี้ ให้เสนอ สศช. ภายใน 14 มกราคม 2556 เพื่อให้การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ มีความชัดเจน นำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม และตอบสนองต่อเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศใน ๔ ด้าน เพื่อให้สำนักงบประมาณนำไปใช้ประกอบการพิจารณางบประมาณให้สอดคล้องกับปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ก่อนเสนอ ครม. พิจารณาต่อไป
แบบฟอร์มที่ 1: สรุปโครงการสำคัญ (Flagship Project) ตามยุทธศาสตร์ประเทศ
แบบฟอร์มที่ 2 ข้อมูลโครงการสำคัญปี 2557 (Flagship Project) 1. ชื่อโครงการ (1) ..................................................................................................... สอดคล้องกับเป้าหมาย สร้างรายได้จากฐานเดิม สร้างรายได้จากฐานใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพ ลดรายจ่าย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศแนวทางที่ ................................................................................................................... หน่วยงานรับผิดชอบ ............................................................................................ 2. หลักการและเหตุผล 2.1 ..................................................................................................... 2.2 ..................................................................................................... 3. วัตถุประสงค์ 3.1 ..................................................................................................... 3.2 ..................................................................................................... 4. เป้าหมาย 4.1 ..................................................................................................... 4.2 ..................................................................................................... 5. งบประมาณดำเนินงาน .......... ล้านบาท
6. วิธีและขั้นตอนการดำเนินงาน 6.1 ............................................................ 7. ผลผลิตของโครงการ (output) 7.1 ............................................................ 8. ผลลัพธ์ของโครงการ (outcome) 8.1 ............................................................ 9. การติดตามประเมินผลโครงการ ........................................................................................................ หมายเหตุ :ทั้งนี้อาจเป็นโครงการที่ได้บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ว
ประเด็นนำเสนอ • ความเป็นมา • ผลการวิเคราะห์การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • บทบาทของหน่วยงานในการจัดเตรียมแผนงาน/โครงการเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ • การดำเนินงานในระยะต่อไป
การดำเนินงานในระยะต่อไปการดำเนินงานในระยะต่อไป จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 4ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการ และ นรม.