420 likes | 1.85k Views
Plant Morphology สัณฐานวิทยาของพืช . Morphos : structure ; logos : a discourse “ the description of the form and structure of plant ” External Morphology = การศึดษา รูปร่างและโครงสร้างที่เราสามารถมองเห็นได้จากภายนอก เช่น ใบ ราก ดอก ผล ลำต้น
E N D
Plant Morphologyสัณฐานวิทยาของพืช Morphos : structure ;logos : a discourse “ thedescriptionoftheformandstructureofplant” ExternalMorphology = การศึดษารูปร่างและโครงสร้างที่เราสามารถมองเห็นได้จากภายนอก เช่น ใบ ราก ดอก ผล ลำต้น InternalMorphology (Histology) = การศึกษาถึงลักษณะของพืชที่จะต้องมีการตัดเนื้อเยื่อและทำการศึกษาใต้กล้องจุลทรรศน์
Plant ; Habit • Habit หมายถึงรูปร่างลักษณะของพันธ์ไม้ที่เห็นในสภาพธรรมชาติ ขึ้นกับคุณสมบัติของลำต้นพืช ได้แก่ ไม้ล้มลุก,ไม้พุ่ม,ไม้ยืนต้น ,ไม้เลื้อยเป็นต้น • มีการจัดแบ่งประเภท Habit หลายวิธี เช่น จัดแบ่งตาม • โครงสร้างและความแข็งของเนื้อไม้ • ช่วงอายุพืช • ถิ่นอาศัย (Habitat)
Plant ; Habit โครงสร้างและความแข็งของเนื้อไม้ • Herbaceous Plantsมีลำต้นอ่อน ได้แก่Herb (ไม้ล้มลุก) • Woody Plants มีลำต้นแข็ง ซึ่งมีลักษณะเป็น • Shrub (ไม้พุ่ม) • Tree(ไม้ยืนต้น) • Climber (ไม้เลื้อย) ลำต้นจะทอดยาวและไม่สามารถทรงตัวได้ต้องอาศัยหลักอื่นทรงตัว • Scandent (ไม้รอเลื้อย) ได้แก่ไม้พุ่มบางชนิด ถ้ามีหลักอยูใกล้จะเปลี่ยนจากไม้พุ่มเป็นไม้เลื้อยได้ เช่น มะลิ เทียนหยด พวงประดิษฐ์
Plant ; Habit โครงสร้างและความแข็งของเนื้อไม้ • Scandent(ไม้รอเลื้อย)
Plant ; Habitช่วงชีวิตพืช • นับช่วงเวลาที่พืชเริ่มออกจากเมล็ดออกดอกออกผลจนต้นตายไปจัดแบ่งได้เป็น • Annuals ช่วงเวลาชีวิตของพืชใช้เวลา 1 ฤดูกาล หรือไม่เกิน 1 ปี • Biennials ช่วงเวลาชีวิตของพืชใช้เวลา 2 ปี • Perennials ช่วงเวลาชีวิตของพืชใช้เวลานานหลายปี ลำต้นของพืชพวกนี้ส่วนที่อยู่เหนือดินอาจจะเหี่ยวแห้งไป แต่เมื่อถึงฤดูกาลหลังจากฝนตกก็จะแตกหน่อใหม่ขึ้นมาจากลำต้นใต้ดิน เช่น พวกขิง ข่า
Plant ; Habitถิ่นอาศัย (Habitat) • สถานที่และสภาพที่พืชต่างๆขึ้นตามธรรมชาติ เช่น บนดิน ในน้ำ หรือบนต้นไม้อื่น แบ่งเป็น • Terrestrial Plant พืชบก คือพืชที่ขึ้นบนดิน • Aquatic Plant พืชน้ำ คือพืชที่ขึ้นในน้ำ • Floating พืชลอยน้ำ รากไม่สัมผัสสิ่งใดๆ จะล่องลอยไปในน้ำ • Submersed พืชที่รากยืดกับโคลนตมใต้น้ำ ใบและต้นจมน้ำ • Immersed พืชที่รากยืดกับโคลนตมใต้น้ำ ใบและดอกชูเหนือน้ำ • Epiphytic Plant พืชที่เกาะอยู่บนต้นอื่นโดยไม่อาศัยอาหาร
Morphology • VegetativeSystem • RootSystem • ShootSystem • Reproductive System • Flower • Fruit • Seed
Shoot System Morphology Root System
โครงสร้างของรากที่แตกต่างจากลำต้นโครงสร้างของรากที่แตกต่างจากลำต้น • ไม่มีตา ใบ ดอก • มีหมวกราก • เหนือปลายรากไปเล็กน้อยจะมีขนราก • บางชนิดไม่มีคลอโรฟิลด์ • มีอาณาเขตการเจริญเติบโตใกล้ปลายราก • มีทิศทางการเจริญแบบ Positive geotropism
Root Function • ดูดอาหาร น้ำ เกลือแร่ • ลำเลียงอาหาร • ยึดเกาะ พยุงลำต้น • ทำหน้าที่พิเศษอื่น ๆ
Root System เป็นส่วนที่อยู่ใต้ดิน ไม่มี ข้อ ปล้อง ตา และใบเกร็ด รากเจริญ มาจาก Radicle ของต้นอ่อนในเมล็ด รากอันแรกที่ดันเปลือกหุ้มเมล็ดออกมา คือรากแก้ว ( Primary Root) ซึ่งจะแทงลึกลงไปในดินและ รากที่แตกออกไป ด้านข้าง ครั้งแรกเรียก Secondary Root แตกออกไปครั้งที่สองเรียก Tertialy Rootเมื่อแตกออกหลายๆชั้นจะเรียกรวมกันว่า รากแขนง (Lateral Root) Primary Root
Tap root , Fibrous root, Adventitious root • TapRootSystem คือ ระบบรากที่ PrimaryRoot เจริญมีขนาดใหญ่มาก และไม่ค่อยมี SecondaryRoot เช่นพบในรากของพืชพวกหัวผักกาด เป็นต้น
Tap root , Fibrous root, Adventitious root • FibrousRootSystem คือ ระบบรากที่ PrimaryRoot ไม่มีการเจริญหรือ ฝ่อไป แต่ SecondaryRoot เจริญเป็นจำนวนมากเป็นกระจุก แต่ละรากมีขนาด ใกล้เคียงกันจึงเรียก รากฝอย (fibrous root)
Tap root , Fibrous root, Adventitious root • รากพิเศษ (AdventitiousRootSystem)พืชบางชนิดที่ radicle ไม่สามารถเจริญเป็นรากแท้จริงได้ ทำให้พืชต้องปรับตัวโดยสร้างรากจากส่วนอื่นๆแทน เรียกราก ชนิดนี้ว่า AdventitiousRoot • รวมทั้งรากปกติแต่ทำหน้าที่อื่นๆ (Modificationofroots) ด้วย รากกาฝาก (HaustoriaorSuckersofParasites)
รากพิเศษ (Adventitious Root) Haustoria หรือ Suckers of Parasites เป็นรากที่พบได้ในพืชกลุ่มกาฝากซึ่งต้องอาศัยเกาะอยู่บนพืช ชนิดอื่น แล้วสร้างรากแทงเข้าไปในลำต้นของพืชที่อาศัยอยู่ เพื่อดูดเอาน้ำและอาหารมาใช้ เช่นรากกาฝาก ฝอยทอง
Adventitiousroot • ClimbingRootsเป็นรากเกิดที่ข้อลำต้นในพืชที่มีลำต้นเนื้อไม้อ่อน ทรงตัวไม่ได้ต้องอาศัยรากทำหน้าที่เกี่ยวเกาะหลักอื่นๆเพื่อให้ลำต้นเลื้อยไปได้ พบได้ในต้น พริกไท พลูฉีก เป็นต้น ต้นพลู
Adventitious root • ClimbingRootsเป็นรากเกิดที่ข้อลำต้นในพืชที่มีลำต้นเนื้อไม้อ่อนทรงตัวไม่ได้ต้องอาศัยรากทำหน้าที่เกี่ยวเกาะหลักอื่นๆเพื่อให้ลำต้นเลื้อยไปได้ พบได้ในต้น พริกไท พลูฉีก เป็นต้น ต้นพริกไท
Adventitious root • AerialRoots เป็นรากที่ทำหน้าที่ดูดความชื้นและก๊าซจากอากาศพบได้ในต้น กล้วยไม้ที่ผิวรากมีเนื้อเยื่อเก็บความชื้นเรียก velumen รากต้นกล้วยไม้
Adventitious root • PneumatophoreorBreathingrootsเป็นรากที่ทำหน้าที่หายใจ พบในพืชป่าชายเลน (mangroves) โดยพืชจะแทงจากใต้ดินโผล่ขึ้นมาเหนือผิวดิน รากต้นลำพู
Adventitious root • StiltorPropRootsเป็นรากที่เกิดรอบๆฐานของลำต้นบริเวณข้อที่อยู่เหนือดิน เมื่อ รากงอกออกมาจะพุ่งลงดิน เพื่อช่วยพยุงลำต้น เป็นรากพิเศษ ที่พบได้ในต้นข้าวโพด ต้นอ้อย และต้นลำเจียก ส่วนราก ต้นไทร (Ficus) งอกออกจากกิ่งดิ่งลงมายังพื้น เพื่อช่วยในการพยุงลำต้น ต้นลำเจียก
Adventitious root • Storage Rootsเป็นรากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร อาจเกิดจากรากประเภท Tap root หรือ Fibrous root ก็ได้
Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Conicalคือ Tap root มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม โคนรากมีขนาดใหญ่แล้วค่อยๆเรียวเล็กลงไปทางปลายราก เช่นหัวผักกาด หัวแครอท
Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Napiform or Turbinate คือ Taproot มีรูปร่างกลมพองออกตรงกลาง ปลายรากเรียวเล็กลง เช่นหัวแรทดิช หัวมันแกว
Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Tuberousคือ Fibrousroot ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน รากแต่ละรากอาจมีรูปร่างยาวๆ ตรงกลางพองออกไป หรือพองตรงปลาย หรือพองทั้งกลางและปลาย เช่นมันเทศ มันมือเสือ
Storage Roots ; รากที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเพื่อเก็บสะสมอาหาร Fascicledคือ Fibrousroot ที่รากทุกรากพองออกมาตลอดความยาวของรากและมีขนาดเกือบเท่ากัน เช่น กระชาย