1 / 25

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001: 2004

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001: 2004. ประวัติความเป็นมาของ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม. ISO 14001 : 2004. TC 207. ISO. ISO 14001 : 1996. BS 7750. ประโยชน์ของระบบ ISO 14001. ลดต้นทุน ผลกระทบทางการค้า ชื่อเสียง และการยอมรับจากสถาบันการเงิน ประกันภัย ผู้ลงทุน

Download Presentation

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001: 2004

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมISO 14001: 2004

  2. ประวัติความเป็นมาของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมประวัติความเป็นมาของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 : 2004 TC 207 ISO ISO 14001 : 1996 BS 7750

  3. ประโยชน์ของระบบ ISO 14001 • ลดต้นทุน • ผลกระทบทางการค้า • ชื่อเสียง และการยอมรับจากสถาบันการเงิน ประกันภัย ผู้ลงทุน • ผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้องน้อยลง

  4. ข้อกำหนดของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมข้อกำหนดของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม • ขอบเขตของมาตรฐาน (Scope) • บทอ้างอิง (Normative References) • คำนิยาม (Definitions) • ข้อกำหนดระบบการจัดการ (Environmental management systems requirements)

  5. ..วัตถุประสงค์.. เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม IS0 14001:2004 มุ่งเน้น... 1. การป้องกันมลพิษ 2. การปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนด

  6. หลักเกณฑ์การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักเกณฑ์การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย • SMART • Specific เฉพาะเจาะจง • Measurable วัดผลได้ • Achievable ทำให้สำเร็จได้ • Realistic/Relevant เป็นจริงในทางปฏิบัติ • Time scaleมีเวลาที่ชัดเจน

  7. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ควรทราบ…….ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ควรทราบ…….

  8. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ควรทราบ…….ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ควรทราบ…….

  9. นโยบายสิ่งแวดล้อม(ข้อกำหนดที่ 4.2) 1. ปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม 2. ดำเนินธุรกิจในแนวทางป้องกันและลดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทั้งทาง น้ำ ดิน อากาศ และกากของเสีย โดยพิจารณาถึงต้นกำเนิดของปัญหา และแนวทางใน การป้องกันเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4. ให้ความรู้ความเข้าใจในนโยบายสิ่งแวดล้อมของบริษัท แก่พนักงานทุกคน 5. เผยแพร่นโยบายสิ่งแวดล้อมต่างๆที่ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้สาธารณชนได้ รับทราบ

  10. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environment Aspect)(ข้อกำหนด 4.3.1) การระบายน้ำทิ้ง การใช้วัตถุดิบ และ ทรัพยากรธรรมชาติ การปล่อยควันและฝุ่นละอองที่เป็นพิษ ปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้เชื้อเพลิงเผาไหม้ และสารเคมีอันตราย การเกิดมลพิษ ขยะและของเสียอันตราย การใช้ทรัพยากรและพลังงาน คุณภาพชีวิตและความปลอดภัย

  11. การชี้บ่งลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมการชี้บ่งลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม • การพิจารณาลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม(Aspect) • มลสารที่ปล่อยสู่อากาศ • มลสารที่ระบายลงน้ำ • การเกิดของเสีย แต่ละผลิตภัณฑ์ • มลสารที่ปนเปื้อนลงดิน • การใช้วัตถุดิบและทรัพยากรธรรมชาติ • การปลดปล่อยพลังงาน • ลักษณะทางกายภาพ • คุณภาพชีวิต ของเสีย ปล่อยสู่อากาศ วัตถุดิบและทรัพยากร องค์กร ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม กิจกรรม,ผลิตภัณฑ์ กระบวนการบริการ คุณภาพชีวิต ปนเปื้อนลงดิน ระบายลงดิน

  12. สรุปลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมสรุปลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม กำหนดพื้นที่ พิจารณากิจกรรม รักษาข้อมูลให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ชี้บ่งลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม และ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประเมินนัยสำคัญ? ไม่ใช่ Maintain ใช่ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย การควบคุมกระบวนการ จัดการปัญหา

  13. การประเมินลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมการประเมินลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม • พื้นที่/ แผนก/ กิจกรรม -สถานการณ์ปกติ : เกิดขึ้นเป็นประจำ -สถานการณ์ไม่ปกติ : เกิดขึ้นไม่บ่อย -สถานการณ์ฉุกเฉิน : เหตุการณ์ที่คาดไม่ถึง ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรง • ปัจจัยที่มีผลกระทบ ก่อนเข้าระบบ(input)และ ผลกระทบเมื่อออกจากระบบ(output) • ขนาดผลกระทบ • ความรุนแรงของผลกระทบ -ระดับอันตราย : ความอันตรายของลักษณะสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม -ระดับผลกระทบ : ที่มีต่อชุมชน/สิ่งแวดล้อมภายนอก -กฎหมาย : ความสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสิ่งแวดล้อม • โอกาสที่จะเกิด -ความถี่ : ความบ่อยครั้งของการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม -การควบคุม : ความสามารถของหน่วยงานในการควบคุม/ป้องกันการเกิดปัญหา

  14. Process Flow Technique Input output มลสารที่ปล่อยสู่อากาศ -ไอเสีย / ควัน -ไอระเหยสารเคมี มลสารที่ระบายลงน้ำ -น้ำทิ้ง ของเสีย -ขยะมูลฝอย / ขยะทั่วไป -ขยะอันตราย มลสารที่ปนเปื้อนลงดิน -สารเคมี / น้ำมันที่หกรั่วไหล กิจกรรม / กระบวนการ • วัตถุดิบและทรัพยากรธรรมชาติ -ไฟฟ้า -น้ำ -กระดาษ -เหล็ก -ไม้ -สารเคมี การถ่ายเอกสาร กระดาษ ไฟฟ้า -กระดาษเสีย -เสียง -แสง -ฝุ่น

  15. หลักการป้องกันสิ่งแวดล้อมหลักการป้องกันสิ่งแวดล้อม กระบวนการผลิต การลดจากแหล่งกำเนิด ผลิตภัณฑ์ มลพิษ/ของเสีย ไม่เกิดมลพิษ/ของเสีย การบำบัด การนำกลับมาใหม่ มลพิษ/ของเสีย มลพิษ/ของเสีย จากการนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดทิ้ง

  16. (ข้อกำหนด ที่ 4.3.2)การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม • วัตถุประสงค์สิ่งแวดล้อม (Environment Objective) เป้าหมายทางด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อมของบริษัท กำหนดขั้นตอนการดำเนินงานและหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อกำหนดเป้าหมายและ โครงการด้านการสิ่งแวดล้อมสำหรับสาเหตุที่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม • เป้าหมายทางด้านสิ่งแวดล้อม (Environment Target) ข้อกำหนดสมรรถนะเชิงรายละเอียดที่ประยุกต์ ไปใช้ หรือ ส่วนใดส่วนหนึ่งที่เกิดจากวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม • โครงการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ทางบริษัทได้จัดทำโครงการออกเป็น 2 โครงการ คือ 1. โครงการอนุรักษ์พลังงาน น้ำ , ไฟฟ้า , แก๊ส (โดยการลดปริมาณการใช้ 10 %) 2. โครงการลดขยะปนเปื้อนสารเคมีและขยะทั่วไป ( โดยการลดปริมาณการใช้ 10 %)

  17. ข้อกำหนด(4.4.6)ในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติ1. การจัดการของเสีย กำหนดให้มีการคัดแยกขยะเป็น 3 ประเภท โดยพนักงานทิ้งของขยะให้ตรงตามประเภทขยะโดยแบ่งตามสีถัง และมีป้ายชี้บ่ง ขยะชัดเจน ดังนี้1.1 ขยะทั่วไป ( ถังสีเขียว ) 1. ขยะที่เกิดจากการใช้งานเกี่ยวกับชีวิตพนักงานเพื่อการอุปโภค- บริโภค เช่น เศษถุงกระดาษ ถุงใส่เศษอาหาร 2. ขยะจากการดูแลสวน ( เศษใบไม้, กิ่งไม้, หญ้า, ดิน, ทราย ) 3. ขยะจากโรงอาหาร 4. ขยะจากห้องน้ำ-ห้องส้วม

  18. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติ1.2 ขยะอันตราย ( ถังแดง ) แบ่งเป็น 1. ขยะที่มีการปนเปื้อนสารเคมีหรือน้ำมัน เช่น เศษผ้า, ถุงมือ, ชุด พ่นสี และ วัสดุดูดซับ ที่ใช้งานแล้ว 2. เศษสี กากของเสียจากกระบวนการพ่นสี(ล้างห้องสี) ,กาก ตะกอน จากบ่อบำบัดน้ำเสียโดยให้จัดเก็บในถัง 200 ลิตร นำไป วางรวม ณ.พื้นที่จัดเก็บ 3. เศษปูนผสมสารเคมีที่เกิดจากการเทปูน ให้จัดเก็บในถัง 200 ลิตร 4. ภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้แล้ว ถังน้ำมัน,ปี๊บใส่สี ที่ใช้แล้วให้เก็บ ไว้ในพื้นที่ๆกำหนด

  19. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติ1.3 ขยะรีไซเคิล ( ถังน้ำเงิน ) แบ่งเป็น 1. ขยะที่เกิดจากกระบวนการผลิต เช่น กล่องกระดาษ, ถุงพลาสติก ,กระดาษHoney comb , เศษเหล็ก , เศษ อลูมิเนียม 2. ขยะสำนักงาน เช่น กระดาษเอกสาร

  20. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติ2. การจัดการสารเคมีอันตราย -พนักงานที่ต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ต้องทำความเข้าใจถึงอันตราย ของสารเคมีที่ใช้ โดยศึกษาจากเอกสารกำกับความปลอดภัยในการใช้สารเคมี(MSDS) -ห้ามพนักงานนำสารเคมีหรือ น้ำมันที่ใช้แล้วเททิ้งลงในรางระบายน้ำ - ห้ามพนักงานซักล้างวัสดุที่ปนเปื้อนสารเคมี และปล่อยให้น้ำซักล้างไหลลงสู่รางระบายน้ำ

  21. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติ 3. การอนุรักษ์พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ -การช่วยกันอนุรักษ์พลังงานและทรัพยากร ธรรมชาติ เช่น ไฟฟ้า, น้ำ, น้ำมัน , กระดาษ3.1การลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า น้ำ โดยมีการกำหนดมาตรการในการ ประหยัดพลังงาน และ การรณรงค์จิตสำนึกภายในโรงงาน(การจัดบอร์ด, คำขวัญ )

  22. 3.2 มีการกำหนดให้มีโครงการและข้อมูลเกี่ยวกับการนุรักษ์พลังงาน ไฟฟ้า-การปิดไฟฟ้า พัดลมช่วงเวลาในการพักกลางวัน -ปิดวาล์วลมเครื่องจักรและอุปกรณ์ในกระบวนการ ผลิต เมื่อไม่ได้ใช้งาน -ปิดจอภาพคอมพิวเตอร์เมื่อไม่ได้ทำงาน เกิน 15นาที -ควบคุมการปิด-เปิด เครื่องปรับอากาศ น้ำ -อย่าเปิดน้ำทิ้งไว้ เมื่อไม่มีการใช้งาน -ปิดก๊อกน้ำให้สนิท -สำรวจจุดรั่วไหลของน้ำและแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทำการแก้ไข ตลอดจนการนำกลับมาใช้ใหม่ และ การติดตั้งระบบควบคุม

  23. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติ • ๔. การเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน (ข้อกำหนดที่ 4.4.7) • บริษัทฯ ได้กำหนดแผนเตรียมความพร้อมและตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในกรณีต่างๆ ดังนี้ • - กรณีเกิดอัคคีภัย • -กรณีหม้อไอน้ำระเบิด

  24. ข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติข้อกำหนดในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่พนักงานต้องปฏิบัติ • - กรณีสารเคมี/น้ำมันหกรั่วไหล • - กรณีน้ำท่วม • - กรณีก๊าซรั่ว/ระเบิด

  25. สิ่งแวดล้อมจะดีได้ หากได้รับความร่วมมือจาก พวกเราทุกคน และ องค์กรต่าง ๆ

More Related