1 / 25

รศ.ดร.สุพล ลิมวัฒนานนท์ 7 กรกฎาคม 2553

การติดตามและประเมินค่าใช้จ่ายด้านยาผู้ป่วยนอก ระบบจ่ายตรง สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ผลการวิเคราะห์และการใช้ข้อมูลรอบใหม่. รศ.ดร.สุพล ลิมวัฒนานนท์ 7 กรกฎาคม 2553. ข้อมูลเพื่อตอบคำถามภายใน 3 เดือน. คำถามจากฝ่ายการเมือง. “ จะลดค่าใช้จ่ายด้านยาของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

joshwa
Download Presentation

รศ.ดร.สุพล ลิมวัฒนานนท์ 7 กรกฎาคม 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การติดตามและประเมินค่าใช้จ่ายด้านยาผู้ป่วยนอก ระบบจ่ายตรง สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการผลการวิเคราะห์และการใช้ข้อมูลรอบใหม่ รศ.ดร.สุพล ลิมวัฒนานนท์ 7 กรกฎาคม 2553

  2. ข้อมูลเพื่อตอบคำถามภายใน 3 เดือน คำถามจากฝ่ายการเมือง “จะลดค่าใช้จ่ายด้านยาของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ร้อยละ 30 ได้อย่างไร?”

  3. 1 ตค. 2551 – 31 กค. 2552

  4. 1. ผลการวิเคราะห์แบบแผนการใช้ยาภาพรวมของปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่าย

  5. กลุ่มยาเป้าหมายในการควบคุมค่าใช้จ่ายยาผู้ป่วยนอก ระบบจ่ายตรงสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

  6. น้อย จำนวนครั้งการสั่งใช้ มาก 5.6% 100% 100% 18.0% 30.1% 42.7% 38.1% 64.1% 2.4% 52.5% 86.8% 91.9% 52.6% 93.5% 53.1% 28.6% 98.2% 79.6% 25.8% 15.1% 89.4% 86.1% 8.2% 42.2% 93.8% 86.6% 97.4% (ร้อยละ) 1. ปัจจัยจากการใช้ยานอกบัญชียาหลักฯ มูลค่ายา (ล้านบาท)

  7. 2. ปัจจัยจากการใช้ยาที่ผูกขาดตลาด จำนวนครั้ง Multi-source- ยาที่มีผู้จำหน่ายหลายราย Single source- ยาที่มีผู้จำหน่ายรายเดียว มูลค่ายา ED- ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ NED- ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ

  8. การวิเคราะห์แบบแผนการใช้ยาความแตกต่างระหว่างโรงพยาบาลการวิเคราะห์แบบแผนการใช้ยาความแตกต่างระหว่างโรงพยาบาล

  9. ประเภทโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย (6) ก. สาธารณสุข (13) สังกัดอื่น (7) ข้อมูลคลาดเคลื่อน ไม่ได้วิเคราะห์ (5) สัดส่วนยานอกบัญชียาหลักฯ (ตค. 2551 - กค. 2552) มูลค่า (ร้อยละ) หมายเหตุ ขนาด bubble ตามมูลค่ารวม จำนวนครั้งการสั่งใช้ (ร้อยละ)

  10. สัดส่วนยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติสัดส่วนยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ยาลดไขมันในเลือด มูลค่า (ร้อยละ) จำนวนครั้งการสั่งใช้ (ร้อยละ)

  11. สัดส่วนยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติสัดส่วนยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ NSAIDs-Glucosamine มูลค่า (ร้อยละ) จำนวนครั้งการสั่งใช้ (ร้อยละ)

  12. คำตอบ ศักยภาพในการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านยา

  13. มาตรการของโรงพยาบาลในการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยามาตรการของโรงพยาบาลในการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยา

  14. การควบคุมการเติบโตของค่าใช้จ่ายด้านยาปัจจัยด้านปริมาณ (Q) และด้านราคา (p) • 3. Prescription cap • Limited days supplied • Limited refills 3. Reimbursed price Referencing vs. substitution 2. Purchasing price Volume discount vs. class of trade • 2. Utilization management • Drug use review/evaluation (DUR/DUE) • Prior authorization • Substitution policies • Practice guidelines • 1. Restricted formulary • ED vs. NE lists • Positive/preferred vs. negativelists • 1. Producer price • Single-source vs. multi-source • Original branded vs. generic • Imported vs. locally made ควบคุมราคา Unit price (p) ควบคุมปริมาณการใช้ Quantity (Q)

  15. มูลค่ายาเฉลี่ยต่อวัน และจำนวนวันการสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักฯ ยาลดการหลั่งกรดฯยาข้ออักเสบ (NSAIDs-Coxibs-Glucosamine) บาท บาท หมายเหตุ ขนาด bubble ตามปริมาณวันรวม มัธยฐาน 28.69 บาท มัธยฐาน 23.74 บาท มัธยฐาน 35.5% มัธยฐาน 86.8% ร้อยละจำนวนวัน (DDDs) การสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักฯ ยาลดไขมันในเลือด ยาลดความดันโลหิต (ARBs) บาท บาท มัธยฐาน 16.61 บาท มัธยฐาน 25.44 บาท มัธยฐาน 41.1% มัธยฐาน 87.6% ร้อยละจำนวนวัน (DDDs) การสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักฯ

  16. ยาลดไขมันในเลือด ราคาต่อวัน และปริมาณต่อใบสั่ง รพ. 13779 รพ. 22525 บาทต่อวัน บาทต่อวัน จำนวนวันต่อใบสั่ง (DDDs/script) Note: Bubble size proportional to total DDDs

  17. 2. การใช้ข้อมูลใหม่ • การเปรียบเทียบแบบแผนการใช้และค่าใช้จ่ายระหว่างช่วงเวลา • การวิเคราะห์ปัจจัยด้านราคา

  18. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรของโรงพยาบาลการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของโรงพยาบาล การใช้ข้อมูลยาเพื่อวิเคราะห์แบบแผนการใช้และค่าใช้จ่าย

  19. 2.2 ราคา (price) Baht per day/DDD Days supplied Defined daily doses (DDDs) รหัสมาตรฐาน กสธ. การแทนกันได้ (interchangeability) ข้อมูลเพื่อการติดตามและประเมินค่าใช้จ่ายด้านยา • 1. มูลค่า (value) • 2.1 ปริมาณ (volume) • จำนวนใบสั่ง/ครั้งการสั่งใช้/ขนาน (script) • จำนวนยา (quantity): ขวด หลอด เม็ด ฯลฯ • 3. ตัวชี้เอกลักษณ์ (unique identifier) • วิธีใช้ (dosage regimen) • ขนาดใช้/ครั้ง (dose) • จำนวนครั้ง/วัน (frequency) • ความแรง (strength) • รูปแบบ (dosage form) • ชื่อยา (generic name) • 4.กลุ่ม/ประเภท (type) • Anatomical-Therapeutic-Chemical (ATC) codes 1-5 • Essential Drug (ED) vs. Non-Essential drug (NE) • Single Source (SS) vs. MS-branded vs. MS-generic ราคาอ้างอิง (reference price)

  20. ความสามารถแทนกันได้ของ (ราคา) ยา Level I Level II Level III Level IV ยาลดไขมันในเลือด

  21. ข้อมูลการสั่งใช้ยาผู้ป่วยนอก รอบใหม่ ระบบจ่ายตรง สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ • 1. ตัวชี้เอกลักษณ์ (unique identifier) • ชื่อยา (generic name) • ความแรง (strength) • รูปแบบ (dosage form) • 2.ประเภทยาในบัญชียาหลักฯ (ED) หรือนอกบัญชียาหลักฯ (NE) • 3. จำนวนใบสั่ง/ครั้งการสั่งใช้ (script) • 4. จำนวนยา (quantity): ขวด หลอด เม็ด • 5. มูลค่า (value) เป็นบาท รหัสมาตรฐาน กสธ. (1+5-3-2 (7-3)+5+3 หลัก) ยอดรวม 10 เดือน: 1 ตุลาคม 2552 – 31 กรกฎาคม 2553

More Related