650 likes | 1.48k Views
ความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล : การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบคุณภาพแนวทางรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. TQA. ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374. ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้. ทำไมต้อง PISA. อะไรคือ TQA. คุณลักษณะของ TQA.
E N D
ความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล : การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบคุณภาพแนวทางรางวัลคุณภาพแห่งชาติ TQA ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374
ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้........ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้........ • ทำไมต้อง PISA • อะไรคือ TQA • คุณลักษณะของ TQA • องค์ประกอบหลักของ TQA • ผู้นำระดับสูงคือคนสำคัญของ TQA • ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล • บันได ๑๐ ขั้นสู่ความสำเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล • เกณฑ์ประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ • การเขียนรายงานเพื่อขอรับการตรวจประเมิน
ทำไมต้อง ? PISA
The Programme of International Student Assessment: PISA ริเริ่มโดย “ องค์กรเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ” Organization for Economic Co-operation and Development: OECD”
เพื่อ........... ตรวจสอบศักยภาพและความรู้พื้นฐานเยาวชนที่จบการศึกษาภาคบังคับ อายุประมาณ ๑๕ ปี วัตถุประสงค์หลัก....
ต้นแบบของการเรียนรู้ตลอดชีวิตเน้น • “ความรู้และทักษะใหม่ ” เพื่อการ • ปรับตัวให้เข้ากับโลกที่เปลี่ยนแปลง หลักการ PISA.... • ไม่ได้ประเมินเนื้อหาความรู้ในหลักสูตร • มุ่ง “การแก้ปัญหา”
เป็นการประเมินสมรรถนะเป็นการประเมินสมรรถนะ หรือ Literacy หรือ การรู้เรื่อง ๓ ประการ • Reading literacy: การรู้เรื่องการอ่าน • Mathematical literacy: การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ • Scientific literacy: การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์
การรู้เรื่องการอ่าน ประเมินความสามารถติดตามความหมายของคำ การคิดย้อนกลับ และสะท้อนถึงความเข้าใจการเขียนว่าเขียนให้ใครอ่าน ความสามารถในการตีความจากโครงสร้างของเรื่อง และลักษณะเด่นของการเขียน ความรู้และศักยภาพในการสร้างสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ
การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ประเมินมากกว่าการคิดเลขและทำโจทย์แต่ให้รู้จักรูปคณิตศาสตร์ การจัดทำข้อมูล ขอบเขตและข้อจำกัดของแนวคิดคณิตศาสตร์ • - ความสามารถติดตามและประเมินข้อโต้แย้งเชิงคณิตศาสตร์ • - เสนอปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ • - เลือกวิธีการนำเสนอสถานการณ์เชิงคณิตศาสตร์ • - ความสามารถตัดสินปัญหาบนพื้นฐานของคณิตศาสตร์ เน้นความคิดสร้างสรรค์และรอบคอบ
การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ • - ประเมินการรู้กระบวนการ (process) • - การรู้แนวคิดและเนื้อหา (concepts & content) • - การรู้จักใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ เข้าใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสังคม ในสื่อมวลชน และการตัดสินใจประเด็นของโลกที่เกี่ยวข้องกับตัวเราทั้งในปัจจุบันและอนาคต
๑ ใช้การอ่าน คิดวิเคราะห์ แล้วตั้งคำถาม เป็นคำถามเปิดที่สะท้อนความคิด ๒ ใช้เหตุผลของการตอบ ๓ เป็นการมองไกลในอนาคต ๔ ลักษณะเด่น PISA.... ถามความรู้และกระบวนการที่ใช้ดำเนินชีวิต ๕ ๖ เป็นคำตอบที่เขียนได้หลายแบบ ๗ ความถูกต้องขึ้นอยู่กับเหตุผลที่ใช้
ระยะที่ ๑ (Phass 1) • - PISA 2000 • - PISA 2003 • - PISA 2006 • ระยะที่ ๒ (Phass 2) • - PISA 2009 เน้นการอ่าน ๖๐ % • - PISA 2012 เน้นคณิตศาสตร์ ๖๐ % • - PISA 2015 เน้นวิทยาศาสตร์ ๖๐ % กรอบเวลา PISA....
ประเทศในกลุ่ม OECD (32 ประเทศ) • -ฟินแลนด์ อันดับ ๑ คะแนนเฉลี่ย ๕๔๓ • - เกาหลีใต้ อันดับ ๒ คะแนนเฉลี่ย ๕๔๑ • ประเทศนอกกลุ่ม OECA (36 ประเทศ) • -จีน (เซี่ยงไฮ้) อันดับ ๑ สูงสุด คะแนนเฉลี่ย ๕๗๗ • - ฮ่องกง คะแนนเฉลี่ย ๕๔๕ • - สิงคโปร์ คะแนนเฉลี่ย ๕๔๓ ผลการประเมิน PISA2009....
ประเทศไทย • -การรู้เรื่องการอ่าน ได้ ๔๒๑ คะแนน • - การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ได้ ๔๑๙ คะแนน • - การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ได้ ๔๒๕ คะแนน ผลการประเมิน PISA2009.... คะแนนเฉลี่ย ๔๒๑ ลำดับที่ ๕๐ จาก ๖๘ ประเทศ
ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) องค์ประกอบสำคัญโรงเรียนมาตรฐานสากล • เป็นเลิศวิชาการ • สื่อสารสองภาษา • ล้ำหน้าทางความคิด • ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ • ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก • การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล • การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ( Quality System Management)
ผลลัพธ์ที่เกิดกับนักเรียน คือปลายทางที่มุ่งให้เกิดความสำเร็จ • ภาษาอังกฤษ • ภาษาไทย การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ผู้เรียน WCS • มุ่งมั่นเรียนรู้ • เก่งคิด • เก่งคน • เก่ง ICT • จิตสาธารณะ ความเป็นคนไทย ความเป็นพลโลก
การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานสากล การจัดการเรียนรู้ของเดิม:มี ๔ สาระได้แก่ ทฤษฎีความรู้ การเขียนเรียงความชั้นสูง โลกศึกษา และกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ การจัดการเรียนรู้ของใหม่:มี ๓ สาระได้แก่ IS1 (Research and Knowledge) การศึกษาค้นคว้าและการสร้างองค์ความรู้ IS2 (Communication and Presentation) การสื่อสารและการนำเสนอ IS3 (Social Service Activity) การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล ใช้บันได ๕ ขั้นของการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ขั้นที่ ๑ การตั้งประเด็นคำถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis formulation) ขั้นที่ ๒ การสืบค้นความรู้ (Searching for Information) ขั้นที่ ๓ การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge formation) ขั้นที่ ๔ การสื่อสารการนำเสนอผลงาน (Effective Communication) ขั้นที่ ๕ การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public service)
การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ( Quality System Management) ใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ TQA: THAILAND QUALITY AWARD
รางวัลคุณภาพแห่งชาติThailand Quality Award: TQA T Q A รางวัลคุณภาพแห่งชาติเป็นรางวัลอันทรงเกียรติซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง เป็นเครื่องหมายแสดงถึงความเป็นเลิศในการบริหารจัดการขององค์กรที่ทัดเทียมกับมาตรฐานโลก คืออะไร
ความเป็นมา.... • วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๓๙ วันลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี TQA • กำหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มผลผลิตของประเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ • มอบให้สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักในการประสานความร่วมมือ เพื่อเผยแพร่ สนับสนุน และผลักดันในการพัฒนา ขีดความสามารถการบริหารจัดการตามเกณฑ์ที่อยู่ในระดับมาตรฐานโลก
รางวัลคุณภาพแห่งชาติ....รางวัลคุณภาพแห่งชาติ.... • เป็นรางวัลระดับมาตรฐานโลก ซึ่งมีพื้นฐานทางด้านเทคนิค และกระบวนการตัดสินเช่นเดียวกับรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (The Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) TQA เป็นต้นแบบของรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่หลายๆประเทศทั่วโลกนำไปประยุกต์ใช้
รางวัลคุณภาพแห่งชาติ...รางวัลคุณภาพแห่งชาติ... 1.ช่วยปรับปรุงวิธีดำเนินการ ความสามารถ และผลดำเนินการขององค์กร มีบทบาท ที่สำคัญ ๓ ประการ 2.กระตุ้นให้มีการสื่อสาร และแลกเปลี่ยนข้อมูลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างองค์กรต่างๆ 3.เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดการ การดำเนินการ เป็นแนวทางในการวางแผน และช่วยเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ขององค์กร
เกณฑ์รางวัลคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ เกณฑ์รางวัลคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ • เป็นเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสถาบันการศึกษาในภาพรวม • อยู่ในกรอบของการดำเนินงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ คืออะไร • สามารถใช้ประเมินได้ทั้งโรงเรียนและเขตการศึกษา • เป็นที่ยอมรับกันในประเทศชั้นนำต่างๆทั่วโลก • เป็นเกณฑ์เดียวกับเกณฑ์การประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
เกณฑ์คุณภาพการศึกษา... 1. เพื่อให้โรงเรียนต่างๆได้ใช้เกณฑ์นี้ไปพัฒนาปรับปรุงการดำเนินการ ขีดความสามารถ และผลลัพธ์ให้ดีขึ้น วัตถุประสงค์ 2. เป็นกลไกในการสื่อสารและการแบ่งปันเรียนรู้จากวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ 3. เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้าใจและทบทวนผลการดำเนินการในระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน รวมทั้งเป็นแนวทางในการวางแผนและเป็นโอกาสในการเรียนรู้ของโรงเรียนเอง
เกณฑ์คุณภาพการศึกษา... 1. ใช้เป็นแนวทางที่บูรณาการในการจัดการผลการดำเนินการของตนเอง 2. ทำให้การจัดการศึกษามีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อประโยชน์กับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งผลต่อคุณภาพและความยั่งยืน จะช่วยโรงเรียนได้อย่างไร ? 3. ช่วยปรับปรุงประสิทธิผลและขีดความสาสมารถในการบริหารจัดการทั่วทั้งองค์กร 4. เกิดการเรียนรู้ทั้งในระดับองค์กรและบุคคล
คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... ๑ • ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และกระบวนการ มุ่งเน้น ผลลัพธ์ • ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า • ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร • ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร และการกำกับดูแลองค์กร • ผลลัพธ์ด้านการเงินและการตลาด
คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... ๒ • จุดเน้นอยู่ที่ผลลัพธ์ ไม่ใช่วิธีปฏิบัติ เครื่องมือ หรือโครงสร้าง ไม่กำหนดวิธีการ • การเลือกใช้เครื่องมือ เทคนิค ระบบ และโครงสร้างขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆและลักษณะเฉพาะขององค์กร • มุ่งเน้นข้อกำหนดเพราะจะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจ และสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม
คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... • เป้าประสงค์สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ๓ สนับสนุน มุมมองเชิงระบบ • เป็นรากฐานของโครงสร้างขององค์กรที่บูรณาการระหว่างค่านิยมและแนวคิดหลัก โครงร่างองค์กร เกณฑ์ แนวทางให้คะแนน การมุ่งเน้นผลลัพธ์ การเป็นเหตุและผล และการเชื่อมโยงระหว่างหัวข้อต่างๆ • เป็นวงจรการเรียนรู้ PDCA (PDSA)
คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... • มีข้อกำหนดเน้นที่ผลการดำเนินการ มี ๗ หมวด ๑๗ หัวข้อ ๔๑ ประเด็นพิจารณา และ ๘๔ คำถามเจาะลึก ๔ สนับสนุน การตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ • แนวทางให้คะแนน อธิบายถึงมิติต่างๆของการตรวจประเมิน ได้แก่ การะบวนการและผลลัพธ์ เพื่อที่จะนำไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินการในทุกด้าน เครื่องมือการบริหารจัดการที่สำคัญ
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาไปใช้...เพื่อดูว่า...การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาไปใช้...เพื่อดูว่า... • โรงเรียนมีการบริหารถูกทิศทางภายใต้การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ • โรงเรียนเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และมุ่งมั่นตอบสนองความต้องการดังกล่าวได้ • โรงเรียนมีวิธีการรวบรวมและใช้สารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการวางแผนและบรรลุเป้าหมายทั้งในปัจจุบันและอนาคต • มีวิธีการพัฒนาและใช้ความสามารถของครูและบุคลากร • มีวิธีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสีย ความผิดพลาด ผู้เรียนมีการเรียนรู้ตรงตามเป้าหมาย และการบริการ • การปรับปรุงในแง่มุมอื่นๆที่ดีจากมุมมองของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน บุคลากร ระบบงานและการเงิน
ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับการตั้งรับปัญหา เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน 0-25 % การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าเป็นกระบวนการ ส่วนใหญ่ตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ขาดการกำหนดเป้าประสงค์ที่ดี
ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับเริ่มเป็นระบบ 30-45 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเริ่มต้นด้วยการใช้กระบวนงานที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมิน ปรับปรุง เริ่มประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน มีการกำหนดกลยุทธ์ เป้าประสงค์เชิงปริมาณในบางเรื่อง
ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับ สอดคล้องไปทางเดียวกัน 50-65 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกระบวนงานที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมินอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง โดยมีการแบ่งปันความรู้ การประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน กระบวนการตอบสนองกลยุทธ์และเป้าประสงค์ของโรงเรียนในหลายด้าน
ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับ สอดคล้องไปทางเดียวกัน 70-100 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกระบวนงานที่เป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ทำซ้ำได้ และมีการประเมินอย่างสม่ำเสมอเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง มีการปรับปรุงโดยความร่วมมือของหน่วยงานอื่น ผ่านการวิเคราะห์ การแบ่งปันสารสนเทศและความรู้ ส่งผลให้การทำงานข้ามหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกระบวนการ ใช้ตัวชี้วัดติดตามความก้าวหน้าของเป้าประสงค์ มีนวัตกรรมการปฏิบัติงานที่สำคัญ
แนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่าง...แนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่าง... องค์กรที่ดี องค์กรที่ดีกว่า • ชี้นำโดยผู้นำ • การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ • มุ่งเน้นผลผลิต • มุ่งเน้นที่ผู้เรียน • ได้มาตรฐาน • ได้การเรียนรู้ขององค์กร • เห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติ คู่ความร่วมมือ • คิดสวนทางกับผู้ส่งมอบ • มุ่งความคล่องตัว • ปฏิบัติงานตามเงื่อนเวลา • มีผลงานทีละไตรมาส • มุ่งเน้นอนาคต • สร้างนวัตกรรม • ปฏิบัติตามคู่มือ • ตัดสินและบริหารตามความรู้สึก • บริหารจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • รับผิดชอบต่อสังคมในมุมกว้าง • ปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับ • เน้นการสร้างคุณค่าและผลลัพธ์ • มุ่งเน้นผลเฉพาะหน้า • มุมมองเชิงภาระหน้าที่ • มุมมองเชิงบูรณาการของระบบ
๘ คำถามที่ต้องการคำตอบของเกณฑ์ TQA ๑ อะไรคือเป้าหมายขององค์กร ? ๒ อะไรคือความท้าทายขององค์กร ? ๓ อะไรคือบริบทสำคัญขององค์กร ? ๔ การบริหารงานของเราเป็นระบบแล้วหรือยัง ? ๕ ระบบของเรามีประสิทธิภาพดีเพียงพอที่ทำให้บรรลุเป้าหมายหรือไม่ ? ๖ เราเข้าใกล้เป้าหมายมากขึ้นหรือไม่ ? ๗ เราเอาชนะความท้าทายได้หรือไม่ ? ๘ เราควรต้องพัฒนาอะไรเพิ่มเติมอีกบ้าง ?
องค์ประกอบหลักของรางวัลคุณภาพแห่งชาติองค์ประกอบหลักของรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์ และกระบวนการ ผลลัพธ์ด้านการเงิน และการตลาด การนำองค์กร ผลลัพธ์ มุมมองเชิงระบบ ๕ การนำองค์กร อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นลูกค้า การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นการปฏิบัติ ความรับผิดชอบ ต่อสังคมในมุมกว้าง กระบวนการ ๖ การเรียนรู้ระดับ องค์กรและบุคคล การจัดการโดย ใช้ข้อมูลจริง ค่านิยมและแนวคิดหลัก การมุ่งเน้นบุคลากร การมุ่งเน้นลูกค้า ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร และการกำกับดูแล การให้ความสำคัญกับ บุคลากรและพันธมิตร การจัดการ เพื่อนวัตกรรม ๑๑ การมุ่งเน้นอนาคต ความคล่องตัว การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร
สรุปหน้าที่ผู้นำองค์กรตามเกณฑ์TQAสรุปหน้าที่ผู้นำองค์กรตามเกณฑ์TQA • กำหนด • ถ่ายทอด • การให้อำนาจ • การจูงใจ • ปฏิบัติตน • สร้างบรรยากาศ • การมุ่งเน้นการปฏิบัติ • พัฒนาชุมชน • การมีส่วนร่วม • มีจรรยาบรรณ • สร้างองค์กรให้ยั่งยืน • บทบาทในการให้รางวัล • และยกย่อง • การสื่อสาร • กระตุ้น
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ข้อ ๑ • คำถามให้คิด ? ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เมื่อเห็นคนใส่เสื้อคลุม ท้องป่อง ท่านคิดอย่างไร ? Right Understanding
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ข้อ ๒ • คำถามให้คิด ? ความคิด ที่ถูกต้อง จงบวกเลข ๑ ถึง ๒๐๐ ให้เสร็จภายใน ๑๐ วินาที ? Right Thinking
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๓ การทุ่มเท ที่ถูกต้อง • ความสำคัญก่อนหลัง • Out put มากกว่า In put • ความรุนแรงของผลกระทบ Right Commitment
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๔ Why การทำ ที่ถูกต้อง 5W What When Where Who 2H How to Right Actions How Much
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA การควบคุมที่ถูกต้อง (Right Monitoring) ข้อ ๕ INPUTS Man Machine Material Method Money Minute 6 M OUTPUTS หรือ ผลผลิต ที่มีคุณภาพ PROCESS or MEANS หรือ การสร้างคุณค่า การสนับสนุน ระบบธุรกิจ กลุ่มเหตุ กลุ่มผล ความพอใจ ความประทับใจ P Q D E M C F S E ความภักดีของลูกค้า
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๖ ใช้หลักการจับถูก หาข้อดี ข้อเด่น ให้กำลังใจ การประเมิน ที่ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการจับผิด หาข้อด้อย ข้อผิดพลาด หรือต่อว่า Right Assessment
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๗ ความสอดคล้อง ไปทางเดียวกัน การปรับ ที่ถูกต้อง บูรณาการ ประสานกลมกลืน ทั้งกระบวนการ สารสนเทศ การตัดสินใจด้านทรัพยากร Right Alignment
๘ ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึด...... ข้อ ๘ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ การพัฒนา ที่ถูกต้อง องค์กรคือหนึ่งร่างกายเดียวกัน พัฒนาเป็นทีม Right Development ยึดวัฒนธรรมและค่านิยม
ผู้นำระดับสูง คนสำคัญที่จะทำให้สำเร็จ ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการกำหนดวิสัยทัศน์ และค่านิยมขององค์กร ? เป็นคำถามที่ ๑ ของหมวด ๑ หัวข้อที่ ๑ คำถามที่ ๑.๑ ก.(๑)
ผู้นำระดับสูง คนสำคัญที่จะทำให้สำเร็จ • เก่งคิด ผู้นำระดับสูง จึงต้อง • เก่งทำ วิสัยทัศน์ • เก่งพูด • เก่งคน • เก่งเวลา ทัศนวิสัย จะมองเห็นก็ด้วยตา วิสัยทัศน์ ต้องใช้ปัญญาจึงมองเห็น