260 likes | 371 Views
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ (2) ความพึงพอใจของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546. เสนอสภามหาวิทยาลัย 11 ธันวาคม 2547. ความหมายของคะแนน. ระดับคะแนน ความหมาย 1 ความหมาย 2 > 4. 49 มากที่สุด พึงพอใจมากที่สุด 3.5 0 - 4. 49 มาก พึงพอใจมาก
E N D
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ (2) ความพึงพอใจของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 11 ธันวาคม 2547 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ความหมายของคะแนน ระดับคะแนน ความหมาย 1 ความหมาย 2 > 4.49 มากที่สุด พึงพอใจมากที่สุด 3.50 - 4.49 มาก พึงพอใจมาก 2.50 - 3.49 ปานกลาง พึงพอใจ 1.50 - 2.49 น้อย พึงพอใจน้อย < 1.50 น้อยที่สุด พึงพอใจน้อยที่สุด เกิน 3.49 ถึงจะยอมรับได้ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
1. ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ภาวะการทำงานของบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2546 (นักศึกษารุ่นปีการศึกษา 2543) มี.ค.47 (นศ. สำเร็จการศึกษา) 13 ต.ค.47 (สำรวจ) 7 เดือนหลังสำเร็จการศึกษา นศ. ป.ตรี (4-6ปี) สำเร็จการศึกษา = 2,717 นศ. เข้ารับพระราชทานปริญญา = 2,987 นศ.ที่ตอบแบบสอบถาม = 2,848 คิดเป็นร้อยละ 95.3 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ภาวการณ์มีงานทำ (สำรวจ 13 ต.ค. 2547) บัณฑิตที่ตอบแบบสอบถาม 2,848 คน ปีพ.ศ.ที่สำรวจ 2544 2545 2546 2547 รุ่นปีการศึกษา 2543 2544 2545 2546 ได้งานทำ 67.4 % 70.3 % 71.0% 76.1% ศึกษาต่อ 13.9 % 15.1 % 13.4% 13.0% ว่างงาน 18.7 % 14.6 % 15.6% 11.0% 6 เดือนหลังจบ 6 เดือนหลังจบ 5 เดือนหลังจบ 7 เดือนหลังจบ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
สถิติการได้งานทำของบัณฑิต มอ.(รุ่นปีการศึกษา 2535-2546) ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิตจำแนกรายคณะภาวะการมีงานทำของบัณฑิตจำแนกรายคณะ กลุ่ม 1 - ได้งานทำ 100 % 1.แพทยศาสตร์ 2.ทันตแพทยศาสตร์ 3.เภสัชศาสตร์ กลุ่ม 2 - ได้งานมากกว่า 80 % 2543 2544 2545 2546 อุตฯบริการ 87.0 80.6 75.4 84.5 อุตฯเกษตร 61.8 71.0 75.4 81.7 (1-3) มีข้อผูกพันปฎิบัติงาน ให้กับราชการ และ4.พยาบาลศาสตร์ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิตจำแนกรายคณะภาวะการมีงานทำของบัณฑิตจำแนกรายคณะ กลุ่ม 3 - ได้งาน 70-80 % 2543 2544 2545 2546 วิทยาการจัดการ 57.4 65.5 72.1 76.7 โครงการจัดตั้งฯตรัง 87.0 80.6 75.4 76.0 วิศวกรรมฯ 63.8 62.5 70.0 75.8 ศึกษาศาสตร์ 64.4 76.2 72.1 75.5 มนุษยศาสตร์ฯ 62.4 65.7 65.2 73.8 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิตจำแนกรายคณะภาวะการมีงานทำของบัณฑิตจำแนกรายคณะ กลุ่ม 4 - ได้งาน 60-69 % 2543 2544 25452546 วิทย์ & เทคโนฯ63.9 59.7 56.0 68.9 เทคโน&จัดการ - - 60.0 67.4 อิสลามศึกษา 61.9 50.0 59.2 66.0 ทรัพย์ 65.8 62.1 53.9 65.6 วิทยาศาสตร์ 53.9 54.1 56.4 62.8 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
สาขาที่หางานทำได้สูงของแต่ละคณะ (ยกเว้นแพทย์ ทันตะ เภสัช พยาบาล) คณะ สาขา ร้อยละ มนุษยศาสตร์ บรรณารักษ์ฯ 100.0 ศึกษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 100.0 อุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีวัสดุภัณฑ์ 100.0 วิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ 91.7 วิทยาศาสตร์ วัสดุศาสตร์ 90.0 อุตสาหกรรมบริการ การจัดการโรงแรม 84.5 วิทยาการจัดการ การบัญชี 85.2 ทรัพยากรธรรมชาติ สัตวศาสตร์ 80.4 โครงการฯตรัง คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 76.0 วิทย์&เทคโน เคมีอุตสาหกรรม 78.3 อิสลามศึกษา ครุศาสตร์อิสลาม 71.0 เทคโนโลยีและการจัดการ ผลิตกรรมชีวภาพ 67.4 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
แหล่งงาน / ประเภทอาชีพ แหล่งงาน จำนวน % พนง./ลูกจ้างเอกชน 1,386 64.0 ราชการ/ลูกจ้าง/พนง.ของรัฐ 624 28.3 อาชีพอิสระ(กิจการตัวเอง/ครอบครัว) 101 4.7 พนง./ลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ 40 1.8 อื่นๆ 15 0.7 รวม 2,166 100.0 ตอบแบบสอบถาม 2,848 คน ได้งานทำ 2,166 คน (76.1 %) ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
การประกอบอาชีพอิสระของบัณฑิต มอ. (รุ่นปีการศึกษา 2539-2546) ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ภูมิภาคที่บัณฑิตทำงานภูมิภาคที่บัณฑิตทำงาน ส่วนใหญ่ทำงานในภาคใต้ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
เงินเดือนเฉลี่ยของบัณฑิตที่ทำงานแล้วและที่ทำงานเอกชนเงินเดือนเฉลี่ยของบัณฑิตที่ทำงานแล้วและที่ทำงานเอกชน ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
แพทยศาสตร์ บัณฑิตนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้มากที่สุด 3 คณะแรกที่นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้มาก ทันตแพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ของแต่ละคณะ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ร้อยละของบัณฑิตหลักสูตร 4-6 ปี ที่ทำงานแล้ว ยังมิได้ทำงานและศึกษาต่อ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
2. ความพึงพอใจของบัณฑิต 1. บัณฑิตประเมินตนเองหลังสำเร็จการศึกษา 2. บัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
บัณฑิตสำรวจความสามารถของตนเอง บัณฑิตสำรวจความสามารถของตนเอง คุณสมบัติ 2544 25452546 ระดับคุณสมบัติ 1. ความมีมนุษยสัมพันธ์ 4.02 4.094.09 มาก 2. ทักษะการเรียนรู้สิ่งใหม่ 3.78 3.833.84 มาก 3. สมรรถภาพทางร่างกาย 3.71 3.813.77 มาก 4. บุคลิกภาพ 3.67 3.753.70 มาก 5. ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.65 3.683.70 มาก 6. ทักษะการตัดสินใจ 3.65 3.693.68 มาก 7. ทักษะการประยุกต์ความรู้ 3.61 3.653.68 มาก 8. ความรู้ตามสาขาวิชา 3.57 3.553.60 มาก 9. ทักษะการวิเคราะห์ปัญหา 3.49 3.553.56 มาก 10. ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 3.34 3.393.44 ปานกลาง 11. ทักษะการบริหาร 2.95 3.373.37 ปานกลาง 12. ภาษาอังกฤษ 3.01 3.013.00 ปานกลาง ยังเป็นจุด อ่อนของการ ผลิตบัณฑิต ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
บัณฑิตประเมินว่าคุณสมบัติอะไรที่นายจ้างต้องการบัณฑิตประเมินว่าคุณสมบัติอะไรที่นายจ้างต้องการ คุณสมบัติที่นายจ้างต้องการ 2544 2545 2546 1. ความรู้ตามสาขาวิชา/เอก 59.9 63.0 63.9 2. ความมีมนุษยสัมพันธ์ 33.1 60.0 61.3 4. ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 36.9 52.3 54.2 3. ทักษะการวิเคราะห์&แก้ปัญหา 39.6 52.5 53.4 5. ทักษะการเรียนรู้สิ่งใหม่ 27.0 49.8 51.4 6. ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 22.4 47.6 48.5 7. ภาษาต่างประเทศ 35.4 46.0 45.0 8. บุคลิกภาพ 10.2 31.7 33.3 9. ทักษะทางการบริหาร 8.1 27.2 25.6 บัณฑิตประเมินว่านายจ้างต้องการแต่บัณฑิตยังไม่มั่นใจว่าตนเองมีความสามารถมาก ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
บัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยบัณฑิตประเมินการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ประเด็น ค่าเฉลี่ย ระดับความพอใจ 2544 25452546 1. ความพึงพอใจต่อผู้สอน3.81 3.873.89 พึงพอใจมาก 2. ความพึงพอใจต่อวิธีการสอน3.49 3.593.60 พึงพอใจมาก 3. ความพึงพอใจต่อหลักสูตรวิชา 3.39 3.503.45 พึงพอใจ 4. ความพึงพอใจต่อการให้บริการของหน่วยงาน3.113.243.22 พึงพอใจ 5. ความพึงพอใจต่อห้องLab/ห้องเรียนและอื่นๆ3.073.153.08 พึงพอใจ ข้อดี 25442545 2546 การเปิดโอกาสให้ซักถาม 3.70 3.81 3.82 การเตรียมการสอน 3.61 3.67 3.66 ข้อที่ต้องปรับปรุง การใช้สื่อโสตฯที่ทันสมัย 3.35 3.48 3.49 การใช้เทคนิคการสอน 3.34 3.35 3.43 ข้อดี (คะแนนดีทุกรายการ ระหว่าง 3.72-4.05) 2544 2545 2546 มีความรู้ความสามารถ 4.00 4.03 4.05 มีความตั้งใจมุ่งมั่นต่อการให้ความรู้ 3.94 3.97 3.99 การเอาใจใส่ดูแลและอบรม 3.61 3.70 3.73 การมีเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ 3.63 3.73 3.72 ข้อดี 2544 2545 2546 ความครบถ้วนของเนื้อหา 3.49 3.55 3.54 การกำหนดเค้าโครงวัตถุประสงค์ 3.44 3.50 3.52 ข้อที่ต้องปรับปรุง ความทันสมัยของเนื้อหา 3.36 3.44 3.44 รูปแบบการเรียนการสอน 3.27 3.38 3.43 การวัดและประเมินผล 3.38 3.44 3.43 ข้อที่ต้องปรับปรุง 2544 2545 2546 การให้บริการของงานทะเบียน 2.65 2.912.91 การให้บริการด้าน Hardware และ Software ของศูนย์คอมฯ 2.99 3.083.06 การให้บริการด้านการเงินของกองคลัง 2.98 3.083.08 ข้อที่ต้องปรับปรุง 25442545 2546 การเดินทางด้วยรถสวัสดิการภายในมอ. 2.72 2.802.71 มีร้านค้าให้หลากหลายและเพียงพอ 3.043.032.95 สภาพหอพักของมหาวิทยาลัย 2.92 3.012.97 ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ความพึงพอใจของบัณฑิตเกี่ยวกับหลักสูตร/สาขาวิชาความพึงพอใจของบัณฑิตเกี่ยวกับหลักสูตร/สาขาวิชา (เนื้อหา เค้าโครง ความทันสมัย การวัดผล รูปแบบการเรียนการสอน…) 3 คณะหลังที่บัณฑิตพึงพอใจ * โครงการจัดตั้งวิทยาเขตตรัง * วิศวกรรมศาสตร์ * อุตสาหกรรมบริการ 3 คณะแรกที่บัณฑิตพึงพอใจมาก * พยาบาลศาสตร์ * วิทยาลัยอิสลามศึกษา * เภสัชศาสตร์ ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ความพึงพอใจของบัณฑิตต่อวิธีการสอนความพึงพอใจของบัณฑิตต่อวิธีการสอน (เทคนิดการสอนสื่อ การอธิบาย การเตรียมการสอน ….) 4 คณะหลังที่บัณฑิตพึงพอใจ * อุตสาหกรรมบริการ * วิทยาการจัดการ * ทันตแพทยศาสตร์ * วิศวกรรมศาสตร์ 3 คณะแรกที่บัณฑิตพึงพอใจมาก * พยาบาลศาสตร์ * เภสัชศาสตร์ * วิทยาลัยอิสลามศึกษา ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
3 คณะแรกที่บัณฑิตพึงพอใจมาก * พยาบาลศาสตร์ * เทคโนโลยีและการจัดการ * เภสัชศาสตร์ 4 คณะหลังที่บัณฑิตพึงพอใจมาก * อุตสาหกรรมบริการ *วิทยาการจัดการ * โครงการฯตรัง * วิศวกรรมศาสตร์ ความพึงพอใจของบัณฑิตเกี่ยวกับผู้สอน (ความรู้ความสามารถ ความตั้งใจ เข้าสอนตรงเวลา มีจริยธรรมที่เหมาะสม …..) ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
ความพึงพอใจของบัณฑิตเกี่ยวกับการบริการของหน่วยงานความพึงพอใจของบัณฑิตเกี่ยวกับการบริการของหน่วยงาน (ต่อการบริการของมหาวิทยาลัย เช่น ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ internet วิธีการลงทะเบียน บริการกองคลัง …..) บัณฑิตพึงพอใจมาก 3 คณะแรก ได้แก่ * พยาบาลศาสตร์ * แพทยศาสตร์ * วิทยาลัยอิสลามศึกษา คณะที่เหลือพึงพอใจ 3 คณะหลังที่บัณฑิตพึงพอใจ * อุตสาหกรรมบริการ * เทคโนโลยีและการจัดการ * วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546
* พยาบาลศาสตร์ บัณฑิตพึงพอใจมาก 3 คณะแรกที่บัณฑิตพึงพอใจ * พยาบาลศาสตร์ * แพทยศาสตร์ * วิทยาลัยอิสลามศึกษา 3 คณะหลังที่บัณฑิตพึงพอใจ * อุตสาหกรรมบริการ * มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ * เทคโนโลยีและการจัดการ ความพึงพอใจของบัณฑิตเกี่ยวกับห้องLAB/ห้องเรียนและอื่นๆ (อื่นๆ เช่น หอพัก โรงอาหาร ร้านค้า….ต้องปรับปรุงทั้งส่วน ของส่วนกลางและส่วนของคณะ) ภาวะการทำงานและความพึงพอใจ 2546