1 / 45

วัฒนธรรม ประเพณีและการเปลี่ยนแปลง

วัฒนธรรม ประเพณีและการเปลี่ยนแปลง. รายชื่อสมาชิก. 1. นายสมชาย ปิติยะ 5 . นางสาวปิยวดี ชมภูศรี 2 . นายณัฎฐ์นันธ์ วงศ์เสวก 6 . นางอำพรพรรณ ใจแสน 3 . นางสาวนพมาศ วิภามณีโรจน์ 7 . นางสาวน้ำฝน อุดตา 4 . นางสาวศรันญา กุศลเสริมส่ง. วัฒนธรรม.

laurie
Download Presentation

วัฒนธรรม ประเพณีและการเปลี่ยนแปลง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัฒนธรรม ประเพณีและการเปลี่ยนแปลง

  2. รายชื่อสมาชิก 1. นายสมชาย ปิติยะ5. นางสาวปิยวดี ชมภูศรี 2. นายณัฎฐ์นันธ์ วงศ์เสวก6. นางอำพรพรรณ ใจแสน 3. นางสาวนพมาศ วิภามณีโรจน์7. นางสาวน้ำฝน อุดตา 4. นางสาวศรันญา กุศลเสริมส่ง

  3. วัฒนธรรม • หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้น นับตั้งแต่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรมตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง อาจกล่าวได้ว่า วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยให้มนุษย์สามารถดำรงอยู่ต่อไปได้เพราะการจะมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ มนุษย์ต้องรู้จักประโยชน์จากธรรมชาติ และจะต้องรู้จักควบคุมความประพฤติของมนุษย์ด้วยกัน วัฒนธรรมคือ คำตอบที่มนุษย์ในสังคมคิดขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้

  4. ลักษณะของวัฒนธรรม • 1 วัฒนธรรมเกิดจากการเรียนรู้ • 2. วัฒนธรรมเป็นมรดกของสังคม • 3.วัฒนธรรมเป็นแบบแผนในการดำเนินชีวิต • 4.วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ • 5.วัฒนธรรมมีลักษณะเป็นการแสดงถึงรูปแบบ ของความคิด • 6.วัฒนธรรมมิใช่เป็นของผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ

  5. องค์ประกอบของวัฒนธรรมองค์ประกอบของวัฒนธรรม 1.องค์วัตถุ 2. องค์การ 3. องค์พิธีการ 4. องค์มติหรือความคิด

  6. หน้าที่ของวัฒนธรรม • 1. วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบัน • 2. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมของมนุษย์ • 3. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ควบคุมสังคม

  7. ที่มาของวัฒนธรรมไทย • 1. สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ • 2. ระบบเกษตรกรรม • 3. ค่านิยม • 4. การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม

  8. ประเภทของวัฒนธรรมพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติพ.ศ.2485แบ่งได้ 4 ประเภท • 1. คติธรรม • 2. เนติธรรม • 3. วัตถุธรรมเกี่ยวกับวัตถุเครื่องมือ • 4. สหธรรม

  9. 1. รักอิสรภาพหรือความเป็นไท 2. การย้ำความเป็นตัวของตัวเองหรือปัจเจกบุคคลนิยม 3. มักน้อย สันโดษ 4. การทำบุญและประกอบการกุศล เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยที่เด่นๆมีดังนี้

  10. 5. การย้ำการหาความสุขจากชีวิต คนไทยมองชีวิต ในแง่สวยงาม • 6. การย้ำการเคารพเชื่อฟังอำนาจ • 7. การย้ำความเคารพเชื่อฟังอำนาจ • 8. ความโอ่อ่า

  11. ความสำคัญของวัฒนธรรม • เป็นเครื่องสร้างระเบียบแก่สังคมมนุษย์ • ทำให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน • เป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบัน • เป็นเครื่องมือที่ช่วยแก้ปัญหาและสนองความ ต้องการของมนุษย์ • ช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้า • เป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ

  12. อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทย • สังคมไทยสมัยกรุงสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา • สมัยต่อมาได้ติดต่อกับชาติตะวันตก (ชาวยุโรป,อเมริกัน)

  13. อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยแยกเป็นด้านต่างๆดังนี้อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยแยกเป็นด้านต่างๆดังนี้ • ทางการศึกษา วัฒนธรรม • ทางการเมือง • ทางเศรษฐกิจ • ทางสังคมและวัฒนธรรม

  14. วัฒนธรรมอินเดียที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมอินเดียที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมไทย • การเมืองการปกครอง • ศาสนา • ภาษาและวรรณกรรม • ศิลปกรรม

  15. วัฒนธรรมจีนที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมจีนที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมไทย • ความเชื่อทางศาสนา • ด้านศิลปกรรม • ด้านวรรณกรรม

  16. วัฒนธรรมตะวันตก ชาวตะวันตกที่ได้นำวัฒนธรรมตะวันตกเผยแพร่สู่ประเทศไทยดังนี้ • โปรตุเกส • ฮอลันดา • อังกฤษ • ฝรั่งเศส

  17. การผสมผสานวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมตะวันตกการผสมผสานวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมตะวันตก • พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตกเพราะทรงตระหนักในภยันตรายและความต้องการของมหาอำนาจตะวันตก ขณะเดียวกันทรงปรับปรุงภายในประเทศทั้งด้านการเมือง การปกครอง กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีให้เป็นไปตามตะวันตก เพื่อป้องกันไม่ให้ชาติตะวันตกใช้เป็นข้ออ้างเพื่อแทรกแซงกิจการภายในประเทศ

  18. การผสมผสานวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมตะวันตกจนเป็นที่ยอมรับได้แก่การผสมผสานวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมตะวันตกจนเป็นที่ยอมรับได้แก่ • การเมืองการปกครอง • เศรษฐกิจ • ด้านสังคม

  19. ประเพณีไทย • ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวว่า ประเพณีคือการประพฤติที่ชนหมู่หนึ่งอยู่ในที่แห่งหนึ่ง ถือเป็นแบบแผนกันมาอย่างเดียวกันและสืบต่อกันมา ถ้าใครในหมู่ประพฤติออกนอกแบบก็ผิดประเพณีหรือผิดจารีตประเพณี

  20. ประเภทของประเพณี • 1. จารีตประเพณีหรือกฎศีลธรรม • 2. ขนบประเพณีหรือสถาบัน • 3. ธรรมเนียมประเพณีหรือประเพณีนิยม

  21. ประเภทของประเพณี • 1. ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต • 2. ประเพณีเกี่ยวกับสังคม • 3. ประเพณีเกี่ยวกับศาสนา

  22. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม • การเปลี่ยนแปลงทางสังคม • การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม

  23. สาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม • 1. การเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ • 2. การเปลี่ยนแปลงในความต้องการของมนุษย์ • 3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคม • 4. การแลกเปลี่ยนโดยหยิบยืมวัฒนธรรม

  24. ผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม • เกิดความสะดวกสบายในด้านต่างๆ • เกิดการขยายตัวทางด้านการผลิตสินค้าและสิ่งต่างๆมากขึ้น • ทำให้เกิดการวางแผนพัฒนาสังคมเพื่อความเป็นอยู่ที่สุขสบายขึ้น • ทำให้มนุษย์ในแต่ละสังคมเกิดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม • ทำให้เกิดความล้าหลังทางวัฒนธรรมขึ้นได้หากอัตราการเปลี่ยนแปลงระหว่างวัฒนธรรมทางวัตถุกับวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุเกิดขึ้นไม่เท่ากันเช่นมีถนน มีรถยนต์ที่ทันสมัยแต่คนในสังคมไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร

  25. สาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม • ทำให้เกิดความไม่เป็นระเบียบของสังคม เพราะเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมขึ้นนั้น คนในสังคมบางส่วนสามารถปรับตัวได้จึงนำไปสู่การต่อต้านการเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดความขัดแย้งกันขึ้นมาและนำไปสู่ความไม่เป็นระเบียบของสังคม • ทำให้เกิดปัญหาสังคมขึ้นได้ ถ้าหากว่าการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมนั้นทำให้คนในสังคมมีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากปกติเช่น มลพิษ อาชญากรรม ยาเสพติด

  26. การรักษาการส่งเสริมและการพัฒนาวัฒนธรรมมีหลายรูปแบบการรักษาการส่งเสริมและการพัฒนาวัฒนธรรมมีหลายรูปแบบ • 1. การสร้างสรรค์วัฒนธรรม • 2. การส่งเสริมและสนับสนุน • 3. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • 4. การจัดบริการทางวัฒนธรรม

  27. การรักษาการส่งเสริมและการพัฒนาวัฒนธรรมมีหลายรูปแบบการรักษาการส่งเสริมและการพัฒนาวัฒนธรรมมีหลายรูปแบบ • 4. การจัดบริการทางวัฒนธรรม • 5. การอนุรักษ์ ทำนุบำรุงและฟื้นฟูวัฒนธรรม • 6. การสร้างเสริมประชาธิปไตยทางวัฒนธรรม • 7. การเสริมสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน • 8. การจัดการศึกษาเพื่อวัฒนธรรม

  28. การรักษาการส่งเสริมและการพัฒนาวัฒนธรรมมีหลายรูปแบบการรักษาการส่งเสริมและการพัฒนาวัฒนธรรมมีหลายรูปแบบ • 9. การปรับปรุงวัฒนธรรมในชีวิตประจำวัน • 10.การเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ • 11.การธำรงไว้ซึ่งคุณภาพและมาตรฐานของวัฒนธรรม • 12.การเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างชาติ

  29. บทบาทขององค์กรในการดำเนินงานพัฒนาวัฒนธรรมการดำเนินงานวัฒนธรรมเป็นหน้าที่ของทุกคนโดยบทบาทขององค์กรในการดำเนินงานพัฒนาวัฒนธรรมการดำเนินงานวัฒนธรรมเป็นหน้าที่ของทุกคนโดย • องค์กรของรัฐ • องค์กรของเอกชน • ประชาชน

  30. 1.คำว่าวัฒนธรรมหมายถึงอะไร1.คำว่าวัฒนธรรมหมายถึงอะไร • ก.สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม • ข.ความมีระเบียบวินัย • ค.มรดกแห่งสังคมซึ่งสังคมรับและรักษาไว้ให้ เจริญงอกงาม • ง.ถูกทุกข้อ

  31. 2.ลักษณะวัฒนธรรมใดเกิดจากการเรียนรู้2.ลักษณะวัฒนธรรมใดเกิดจากการเรียนรู้ • ก.การสร้างที่อยู่อาศัย • ข.การรับประทานอาหาร • ค.การพักผ่อน • ง.ผิดทุกข้อ

  32. 3.ลักษณะวัฒนธรรมใดเป็นการแสดงถึงพฤติกรรมของสมาชิก3.ลักษณะวัฒนธรรมใดเป็นการแสดงถึงพฤติกรรมของสมาชิก • ก.การแต่งกาย • ข.การใช้ภาษา • ค.การยกมือไหว้ทักทายของคนไทย • ง.การจับมือทักทายของคนไทย

  33. 4.เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยคืออะไร4.เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยคืออะไร • ก.ทำอะไรได้ดังใจคือไทแท้ • ข.ชอบทำบุญสร้างกุศล • ค.ไม่ชอบการดูถูก • ง.ผิดทุกข้อ

  34. 5.อาหารจีนที่มีอิทธิพลต่อชีวิตของคนไทยคืออะไร5.อาหารจีนที่มีอิทธิพลต่อชีวิตของคนไทยคืออะไร • ก.หูฉลาม • ข.ข้าวผัดกุ้ง • ค.ข้าวมันไก่ • ง.ก๋วยเตี๋ยว

  35. 6.วัฒนธรรมตะวันตกมีอิทธิพลต่อประเทศไทยในด้านใด6.วัฒนธรรมตะวันตกมีอิทธิพลต่อประเทศไทยในด้านใด • ก.การแพทย์ • ข.ศาสนา • ค.อาชีพ • ง.ความสามัคคี

  36. 7.ประเพณีที่สืบต่อกันมาจนเป็นที่ยอมรับคือประเพณีใด7.ประเพณีที่สืบต่อกันมาจนเป็นที่ยอมรับคือประเพณีใด • ก.การเห่เรือ • ข.การเลี้ยงรับรองลูกค้า • ค.การขึ้นบ้านใหม่ • ง.การรับน้อง

  37. 8.การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทำให้มีผลอย่างไร8.การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทำให้มีผลอย่างไร • ก.มีความสะดวกสบายมากขึ้น • ข.ปัญหายาเสพติด • ค.วิถีชีวิตเปลี่ยนไป • ง.ถูกทุกข้อ

  38. 9.ในปี พ.ศ.2537มีการรณรงค์วัฒนธรรมไทย มีคำขวัญว่าอะไร • ก.ทำอะไรมีวินัยคือไทยแท้ • ข.การมีน้ำใจคือไทยแท้ • ค.เรารักวัฒนธรรมไทย • ง.วัฒนธรรมไทยร่วมใจสืบสาน

  39. 10. ชาติตะวันตกชาติใดได้แพร่วัฒนธรรมเข้าสู่ประเทศไทยเป็นชาติแรก • ก. โปรตุเกส • ข. ฮอลันดา • ค. อังกฤษ • ง. ฝรั่งเศส

  40. 11.อะไรเป็นสาเหตุเบื้องต้นของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของมนุษย์11.อะไรเป็นสาเหตุเบื้องต้นของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของมนุษย์ ก.การมีค่านิยมร่วมกัน ข.การอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ค.การปรับตัวเพื่อสนองความต้องการ ง.การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม

  41. 12.ข้อใดเป็นวัฒนธรรมประเภทสหธรรม12.ข้อใดเป็นวัฒนธรรมประเภทสหธรรม ก.หลักในการดำเนินชีวิต ข.มารยาทต่างๆในสังคม ค.ระเบียบกฎเกณฑ์และกฎหมาย ง.สิ่งต่างๆที่สมาชิกประดิษฐ์ขึ้น

  42. 13.การเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิธีใดที่บังเกิดผลดีที่สุด13.การเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิธีใดที่บังเกิดผลดีที่สุด ก.นิมนต์พระสงฆ์มาแสดงธรรม ข.บริจาคเงินเพื่อบำรุงการกุศล ค.ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ง.ประชาสัมพันธ์ลงอินเตอร์เน็ต

  43. 14.ผู้ใดมีมารยาทในการแต่งตัวไปวัดมากที่สุด14.ผู้ใดมีมารยาทในการแต่งตัวไปวัดมากที่สุด ก.วันทนานุ่งกางเกงขาสั้น ข.วันวิสาใส่เสื้อกระโปรงรัดรูป ค.วันชาติใส่เสื้อผ้าสีขาว ง.วันเฉลิมสวมกางเกงยีนส์เสื้อยืด

  44. 15.พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติฉบับปัจจุบันประกาศใช้ในปี พ.ศ.ใด • ก. 2483 • ข.2484 • ค.2485 • ง.2504

  45. เฉลยแบบฝึกหัด 9 ค 10 ก 11 ค 12 ข 13 ค 14 ค 15 ค • 1 ง • 2 ก • 3 ค • 4 ง • 5 ง • 6 ก • 7 ค • 8 ง

More Related