1 / 39

ไคเซ็น KAIZEN

ไคเซ็น KAIZEN. ไคเซ็นคืออะไร ?. ● “ ไค ” หมายถึง แยกออกเป็นส่วนๆ ● “ เซ็น ” หมายถึง ทำให้ดี กิจกรรมไคเซ็น (Kaizen Event) หรือบางครั้งเรียกว่า การโจมตีแบบสายฟ้า (Blitz)

lavender
Download Presentation

ไคเซ็น KAIZEN

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไคเซ็น KAIZEN

  2. ไคเซ็นคืออะไร? ● “ไค” หมายถึง แยกออกเป็นส่วนๆ ● “เซ็น” หมายถึง ทำให้ดี กิจกรรมไคเซ็น (Kaizen Event) หรือบางครั้งเรียกว่า การโจมตีแบบสายฟ้า (Blitz) การผลิตแบบลีนมีรากฐานจากแนวคิดของไคเซ็น นั่นคือ เป็นการปรับเปลี่ยนทีละเล็กละน้อยตลอดช่วงระยะเวลานาน สะสมจนส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ทางธุรกิจอย่างสำคัญ

  3. ไคเซ็นคืออะไร? (ต่อ) ไคเซ็นเป็น “ตัวต่อ (Building Block)” ของวิธีการผลิตแบบลีนทั้งหมดเป็นพื้นฐานที่วิธีการผลิตแบบลีนทั้งหมดนี้ถูกสร้างขึ้นมา

  4. จิตวิญญาณไคเซ็นที่ถูกต้องจิตวิญญาณไคเซ็นที่ถูกต้อง

  5. จิตวิญญาณไคเซ็นที่ถูกต้อง (ต่อ)

  6. จุดประสงค์ของไคเซ็นคืออะไร ? กิจกรรมต่างๆในไคเซ็นมุ่งเน้นไปที่แต่ละกระบวนการ และทุกๆการปฏิบัติการ เพื่อที่จะเพิ่มคุณค่า และลดความสูญเปล่า

  7. สายธารคุณค่า Value Stream

  8. ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมไคเซ็นข้อควรระวังในการทำกิจกรรมไคเซ็น - แผนสำหรับการผลิตล่วงหน้า - ให้ความมุ่งเน้นไปที่การมีส่วนร่วมของคนงาน

  9. บุคคลที่มีบทบาทให้แรงหนุนและแรงส่งสำหรับกิจกรรมไคเซ็นบุคคลที่มีบทบาทให้แรงหนุนและแรงส่งสำหรับกิจกรรมไคเซ็น 1. ผู้ประสานงานหรือที่ปรึกษา

  10. บทบาทหลักสำหรับกิจกรรมไคเซ็น (ต่อ) 2. ผู้บริหารระดับสูงขึ้นไป 3. บทบาทของสหภาพ 4. ผู้จัดการโรงงาน 5. ผู้จัดการทรัพยากรมนุษย์

  11. ภาพรวม 3ระยะของกิจกรรมไคเซ็น ระยะที่ 1 : การวางแผนและเตรียมการ ระยะที่ 2 : การนำไปใช้ - ตัวกิจกรรมไคเซ็นเอง ระยะที่ 3 : การนำเสนอ การเฉลิมฉลอง และการติดตามผล

  12. ระยะที่ 1 : การวางแผนและเตรียมการ • เลือกพื้นที่ • เลือกปัญหา เพื่อการ ปรับปรุง

  13. การกำจัดความสูญเปล่า

  14. 5ขั้นตอนหลักในการค้นพบความสูญเปล่า5ขั้นตอนหลักในการค้นพบความสูญเปล่า

  15. สิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นพิเศษในการเลือกปัญหาเพื่อการปรับปรุงสิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นพิเศษในการเลือกปัญหาเพื่อการปรับปรุง • การทำ 5ส • การกำจัดคอขวด หรือการปรับปรุงเวลาการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร

  16. สิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นพิเศษในการเลือกปัญหาเพื่อการปรับปรุง (ต่อ) • ดำเนินการออกแบบเซลล์ • จัดสมดุลสายการผลิต หรือคัมบัง

  17. เตรียมพื้นที่ • วัสดุ อุปกรณ์ และผู้สนับสนุน ถ้าปราศจากวัสดุ อุปกรณ์ และผู้สนับสนุนที่จำเป็นกิจกรรมไคเซ็นจะล้มเหลว มีการติดต่อกับพนักงานซ่อมบำรุงให้ช่วยเตรียมและส่งมอบเครื่องมือและเครื่องใช้ที่ต้องการให้ • ข้อมูลเบื้องหลัง รวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่ต้องใช้ระหว่างดำเนินกิจกรรม -กระบวนการปัจจุบันและแผ่นตารางการปฏิบัติการ -ข้อกำหนดความต้องการของลูกค้า

  18. เลือกผู้นำทีม หลังจากเลือกพื้นที่และปัญหาสำหรับกิจกรรมไคเซ็นแล้ว ต้องมีการระบุผู้นำทีม ผู้นำทีมเป็นคนนำทีมดำเนินกิจกรรมต่างๆ เขาเลือกสมาชิกทีม ช่วยเตรียมการสำหรับกิจกรรมไคเซ็น สร้างกำหนดการ รวยรวมเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆที่ต้องการ และติดตามกิจกรรมทุกๆอย่าง

  19. เลือกสมาชิก • สมาชิกจะทุกเลือกโดยผู้นำทีม • ควรมีสมาชิกอย่างต่ำ 6 คน และไม่ควรมากกว่า 12 คน • ควรมีพนักงานจากพื้นที่ปฏิบัติงานด้วย • อย่างน้อยครึ่งหนึ่งมาจากนอกพื้นที่

  20. ระยะที่ 2 : การนำไปใช้

  21. การปฐมนิเทศ • แนะนำทีมงานและมอบหมายหน้าที่ • แนะนำวัตถุประสงค์และขั้นตอนการทำงานของกิจกรรม • แจกจ่ายชุดเครื่องใช้ให้กับทีมงาน • ทำการอบรมที่จำเป็น

  22. ทำความเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันทำความเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบัน • สังเกตการณ์พื้นที่ที่เลือกและรวบรวมข้อมูล • วาดผังกระบวนการ • ศึกษาเวลาทำการทุกการปฏิบัติการ

  23. สังเกตการณ์พื้นที่ที่เลือกและรวบรวมข้อมูลสังเกตการณ์พื้นที่ที่เลือกและรวบรวมข้อมูล

  24. วาดผังกระบวนการ

  25. วาดผังกระบวนการ (ต่อ)

  26. วาดผังกระบวนการ (ต่อ)

  27. ศึกษาเวลาทำการทุกการปฏิบัติการศึกษาเวลาทำการทุกการปฏิบัติการ

  28. ทำการปรับปรุง • พัฒนาแนวคิดใหม่ในการปรับปรุง • ดำเนินการแผนงานใหม่ • ทดสอบแนวคิดการปรับปรุง • พัฒนามาตรฐานใหม่

  29. พัฒนาแนวคิดใหม่ในการปรับปรุง พัฒนาแนวคิดใหม่ในการปรับปรุง

  30. พัฒนาแนวคิดใหม่ในการปรับปรุง พัฒนาแนวคิดใหม่ในการปรับปรุง

  31. ดำเนินการแผนงานใหม่ จัดเตรียมพื้นที่ให้เรียบร้อย โดยเหลือไว้แต่สิ่งที่ต้องการของกระบวนการใหม่ กำหนดพื้นที่ ทดสอบแนวคิดการปรับปรุง สังเกตรอบเวลาการผลิตใหม่ บันทึกปัญหาต่างๆ ตรวจสอบความปลอดภัย คำนวนการประหยัดทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการกำจัดความสูญเปล่า พัฒนามาตรฐานใหม่ ตั้งเป้าหมายใหม่และระบุตัวชี้วัดสำหรับกระบวนการใหม่

  32. ระยะที่ 3 : การนำเสนอ การเฉลิมฉลอง และการติดตามผล

  33. การนำเสนอ • การเตรียมนำเสนอข้อมูลและผลลัพธ์ของกิจกรรมทั้งหมดเผยแพร่และแสดงผลลัพธ์

  34. การเฉลิมฉลอง • เลี้ยงอาหารกลางวัน • ทุกคนที่มีส่วนร่วมเข้าร่วมกิจกรรม • มอบของรางวัล

  35. การติดตามผล • เพื่อไห้ได้ประโยชน์ของกิจกรรมอย่างเต็มที่ • ประชุมติดตามผล • แจ้งผลลัพธ์ของระบบใหม่

  36. ขอบคุณครับ

More Related