300 likes | 419 Views
การดำเนินงานด้านการศึกษา 1 ตุลาคม 2554 – 31 สิงหาคม 2555. คณะกรรมการวิชาการและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณาจารย์ งานบริการการศึกษา และ งานที่เกี่ยวข้อง. การพัฒนาหน่วยงานบริการการศึกษา.
E N D
การดำเนินงานด้านการศึกษา1 ตุลาคม 2554 – 31 สิงหาคม 2555 คณะกรรมการวิชาการและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรคณาจารย์ งานบริการการศึกษา และ งานที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาหน่วยงานบริการการศึกษาการพัฒนาหน่วยงานบริการการศึกษา • การจัดทำเป้าหมายและแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนางานสู่ความเป็นเลิศของงานบริการการศึกษา • การพัฒนาเว็บไซต์ของงานบริการการศึกษา • การพัฒนาระบบประชาสัมพันธ์ตนเอง • การพัฒนาความก้าวหน้าทางสายงานของบุคลากรงานบริการการศึกษา โดยกำหนดให้อยู่ใน PA ทั้งระดับงาน และบุคคล • การพัฒนาขีดความสามารถในการดำเนินการวิจัยของเจ้าหน้าที่งานบริการการศึกษา ( การฝึกทักษะการสัมภาษณ์และเก็บข้อมูล) • การเพิ่มศักยภาพการใช้ภาษา โดยจัดทำโครงการเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในงานบริการการศึกษา
การพัฒนาหน่วยงานบริการการศึกษาการพัฒนาหน่วยงานบริการการศึกษา • การประเมินสภาพแวดล้อมความปลอดภัยในการทำงานเบื้องต้น (คุณภาพอากาศ แสงสว่าง และความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ) • การปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพของห้องทำงานให้สอดคล้องกับระบบการทำงาน • การพัฒนาระบบการทำงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และมีสุขภาพที่ดี โดยใช้หลัก Ergonomic
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในงานการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในงาน ก่อนการปรับปรุงห้องทำงาน
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในงานการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในงาน หลังการปรับปรุงห้องทำงาน
การพัฒนาหน่วยงานบริการการศึกษาการพัฒนาหน่วยงานบริการการศึกษา • การจัดระบบการประสานงานภายในงานบริการการศึกษา ได้แก่ การประชุมและการถ่ายทอดงานภายในงานบริการการศึกษา เดือนละ 2 ครั้ง • การวางระบบลดความเสี่ยงด้านการขาดเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบงานหลัก โดยการกำหนดตัวบุคคลสำรองที่ชัดเจน • กำหนดนโยบายการมีส่วนร่วม และ กระจายภาระความรับผิดชอบ รองรับงานส่วนกลางของส่วนงานของ เจ้าหน้าที่งานบริการการศึกษา • การจัดทำสถิติการยืมตัวหรือการช่วยงานของ เจ้าหน้าที่งานบริการการศึกษาในงานอื่นนอกเหนือหน้าที่ประจำ
การประชุมภายในงานบริการการศึกษาการประชุมภายในงานบริการการศึกษา
การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบ TQF หลักสูตรที่ดำเนินการโดยคณะเสร็จแล้ว • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ) • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม (หลักสูตรนานาชาติ) • หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์(หลักสูตรนานาชาติ)
การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบ TQF หลักสูตรที่อยู่ในระหว่างดำเนินการ • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (หลักสูตรนานาชาติ) • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีที่เหมาะสมและนวัตกรรมเพื่อความมั่นคงด้านสิ่งแวดล้อม(หลักสูตรปกติ/ภาคพิเศษ) • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาเมือง ชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ (หลักสูตรปกติ/ภาคพิเศษ)
การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบ TQF • การชี้แจงและจัดทำบันทึกความเข้าใจขอบเขตงานและการจัดการเรียนการสอนด้านสิ่งแวดล้อมของหลักสูตรของคณะ แก่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อย่างเป็นทางการ
การเรียนการสอน หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม (ภาคปกติ) • ดำเนินการพัฒนาชุดงานวิจัยของหลักสูตร • การวางระบบให้คำแนะนำทิศทางการทำวิทยานิพนธ์ตามปรัชญาหลักสูตร • การรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ระบบโควตา • การทดลองเปิดรับนักศึกษาประจำภาคเรียนที่ 2
การเรียนการสอน หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม (ภาคปกติ) • การฝึกภาคสนามของหลักสูตร ET ภาคปกติ - การปรับค่าธรรมเนียม การฝึกภาคสนามให้สอดคล้องกับการดำเนินงาน - การปรับแผนการลงทะเบียนวิชาฝึกภาคสนามเป็นภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา - การจัดทำระบบและเอกสารประเมินการฝึกภาคสนาม - การจัดทำวีดีทัศน์ การฝึกภาคสนามครั้งที่ 1
การเรียนการสอน หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม (ภาคพิเศษ) • ดำเนินการขอการรับรองรายวิชา ENTM 501 Research Methodology and Statistical Analysis จากคณะกรรมการ MU-IRB • การสอบคัดเลือกระดับบัณฑิตศึกษา ระบบโควตา • การกระจายผู้สอนในรายวิชาเลือกของหลักสูตร ETS
การเรียนการสอน หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์(หลักสูตรนานาชาติ) • ดำเนินการพัฒนาชุดงานวิจัยของหลักสูตร
การพัฒนาด้านคุณภาพการศึกษาโดยรวมการพัฒนาด้านคุณภาพการศึกษาโดยรวม • การเพิ่มคุณภาพผู้สมัครเข้าเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะ - การออกระเบียบการให้ทุนการศึกษา แก่ นักศึกษาหลักสูตร ES ที่ได้ปริญญาเกียรตินิยมอันดับ 1 เพื่อศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะทุกระดับ ทุกสาขา • การปรับปรุงหลักเกณฑ์การขออนุมัติเขียนวิทยานิพนธ์ด้วยภาษาไทย • การจัดทำเอกสารชุดวิชา
การส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรการส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร การส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรและสนับสนุนการเรียนการสอน • การปรับข้อมูลรายวิชาใหม่ในระบบออนไลน์ให้สอดคล้องกับกรอบ มาตรฐาน TQF • จัดทำทะเบียนอาจารย์พิเศษ และแต่งตั้งอาจารย์พิเศษตามระเบียบข้อบังคับมหาวิทยาลัย • การสำรวจแจกแจงข้อมูลคุณสมบัติอาจารย์ผู้รับผิดชอบ และอาจารย์ ประจำหลักสูตรตามกรอบ TQF เพื่อการกระจายคณาจารย์ รองรับการเปิดหลักสูตรทั้งหมดของคณะ
การส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรการส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร การส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรและสนับสนุนการเรียนการสอน • การจัดระบบการทำงานรองรับแนวทางการเขียนวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทย (ปรับแบบฟอร์ม) • การวางระบบสนับสนุนการประเมินผลการเรียน - การวางระบบและแนวปฏิบัติในการควบคุมมาตรฐานการจัดทำและเก็บรักษาข้อสอบ - การพัฒนามาตรฐานการจัดการสอบและการควบคุมการสอบ (การกำหนดมาตรฐานการจัดห้องสอบ) • การตรวจและเตรียมความพร้อมห้องเรียน • การพัฒนาระบบการให้บริการ (การให้บริการช่วงเวลาพักกลางวัน) • ให้การสนับสนุนระบบประกันคุณภาพด้านการศึกษา
การควบคุมมาตรฐานการสอบการควบคุมมาตรฐานการสอบ ประชุมร่วมกับกรรมการสอบเพื่อรับทราบปัญหาและพิจารณาแนวทางการแก้ไข
การปรับปรุงการให้บริการการปรับปรุงการให้บริการ การให้บริการแก่นักศึกษาในช่วงพักกลางวัน การตรวจความพร้อมห้องเรียน
การสนับสนุนด้านการประกันคุณภาพการสนับสนุนด้านการประกันคุณภาพ MUQD เยี่ยมสำรวจงานการศึกษา เยี่ยมสำรวจห้องสมุด
การแก้ไขปัญหาภาระงานสอนการแก้ไขปัญหาภาระงานสอน • การแก้ไขปัญหาระยะสั้น - การจัดทำแบบสำรวจความต้องการงานการสอนกรณีเร่งด่วน เพื่อจัดสรรงานสอนระยะสั้น - กำหนดการใช้งานภาคการศึกษาที่ 2/2555 • การแก้ไขปัญหาระยะยาว - การสำรวจภาระการสอน และค่าตอบแทนการสอนรายบุคคล - การแจกแจงความต้องการความเชี่ยวชาญของผู้สอนจำแนกตามรายวิชา - กำหนดการใช้งานภาคการศึกษาที่1/2556
การพัฒนาโครงสร้างระดับหน่วยงานการพัฒนาโครงสร้างระดับหน่วยงาน • การจัดตั้งกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการเฉพาะด้านประจำคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้เชี่ยวชาญภายนอก การสำรวจคุณวุฒิและความถนัดของคณาจารย์ การตรวจ สอบความต้องการจากรายวิชา การจำแนกคณาจารย์ตามความถนัด ผู้เชี่ยวชาญประจำกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการประจำคณะ การจัดจำแนกกลุ่มแบบทั่วไป การกระจายภาระการสอน การบริการวิชาการ การตอบสนองวิกฤตการณ์ การวิจัย
การตอบสนองนโยบายมหาวิทยาลัยการตอบสนองนโยบายมหาวิทยาลัย การดำเนินงานตอบสนองนโยบายมหาวิทยาลัยด้านการเรียนการสอน • การพัฒนา การเรียนการสอน MUGE (101 102 103) • รายวิชาที่มีคณาจารย์ของคณะเสนอไว้แล้ว 2 วิชา คือ แผ่นดินไหว-ลมหายใจของโลก เข้าใจโลก-เข้าใจธรรมโดย รศ.ปกรณ์ สุวานิช และ Climate Change Adaptation โดย ผศ.จิรพล สินธุนาวา
การประสานโครงการระดับมหาวิทยาลัยการประสานโครงการระดับมหาวิทยาลัย • โครงการการศึกษาจัดการการปนเปื้อนมลพิษในผลิตผลทางการเกษตร ที่ใช้เป็นอาหาร กรณีจังหวัดนครปฐม ตามพระกระแสรับสั่ง (อธิการบดีถวายรายงานความก้าวหน้า จำนวน 1 ครั้ง)
เป้าหมายเร่งด่วนในอนาคตเป้าหมายเร่งด่วนในอนาคต • กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการเฉพาะด้าน (31 ธันวาคม 2555) • การกระจายภาระการสอน (ปีการศึกษา 2556) • การพัฒนาจัดประชุมเครือข่ายโครงการนครปฐม (มกราคม 2556) • การเร่งรัดการปรับปรุงหลักสูตร ตามกรอบ TQF (31 ธันวาคม 2555)
เป้าหมายเร่งด่วนในอนาคตเป้าหมายเร่งด่วนในอนาคต • กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการเฉพาะด้าน (31 ธันวาคม 2555) • การกระจายภาระการสอน (ปีการศึกษา 2556) • การพัฒนาจัดประชุมเครือข่ายโครงการนครปฐม (มกราคม 2556) • การเร่งรัดการปรับปรุงหลักสูตร ตามกรอบ TQF (31 ธันวาคม 2555)
ขอขอบพระคุณและขอบคุณผู้อยู่เบื้องหลังงานทุกงานขอขอบพระคุณและขอบคุณผู้อยู่เบื้องหลังงานทุกงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ลือพล ปุณณกันต์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ