450 likes | 648 Views
การเตรียมความพร้อมของกำลังคนเพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี และการเปิดเสรีด้านการค้าสินค้า 9 สาขาตามกรอบ ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน. สุวรรณา ตุลยวศินพงศ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 31 สิงหาคม 2554. ภาพรวมการนำเสนอ. 1.ประชาเศรษฐกิจอาเซียนกับสาขาเร่งรัด.
E N D
การเตรียมความพร้อมของกำลังคนเพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี และการเปิดเสรีด้านการค้าสินค้า 9 สาขาตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สุวรรณา ตุลยวศินพงศ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 31 สิงหาคม2554
1.ประชาเศรษฐกิจอาเซียนกับสาขาเร่งรัด1.ประชาเศรษฐกิจอาเซียนกับสาขาเร่งรัด
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) • เป้าหมายหนึ่งของ AEC: มุ่งหวังให้ประเทศสมาชิกอาเซียนกลายเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวร่วมกัน(single market and single production base) ภายในปี 2558 มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี • สินค้า • บริการ • การลงทุน • เงินทุน • แรงงานมีฝีมือ
การเปิดเสรีด้านการค้าในสาขาเร่งรัด 9 สาขา*ประกอบด้วย 1.สินค้าสุขภาพ (Health care sector) 2.ยานยนต์ (Automotive sector) 3.ผลิตภัณฑ์ไม้ (Wood-based sector) 4.ผลิตภัณฑ์ยาง (Rubber-based sector) 5. สิ่งทอ/เสื้อผ้า (Textile & Clothing sector) 6. อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics sector) 7. ผลิตภัณฑ์เกษตร (Agro-processed sector) 8. สินค้าประมง (Fisheries sector) 9. เทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN sector (ICT equipment) หมายเหตุ *สาขาเร่งรัด (priority sectors) ของอาเซียนมี 12 สาขา อีก 3 สาขาเป็นภาคบริการ ได้แก่ การบิน ท่องเที่ยว โลจิสติกส์
ความกังวลในประเด็นการเปิดเสรีด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือความกังวลในประเด็นการเปิดเสรีด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ ประเทศที่มี ค่าตอบแทนต่ำ ประเทศที่มี ค่าตอบแทนสูง • สมองไหล • แย่งงาน
2.สถานการณ์กำลังคนในการค้าสินค้า 9 สาขาเร่งรัด
จำนวนแรงงานในสาขาการผลิตสินค้า 9 สาขาเร่งรัด ที่มา : การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ร้อยละของแรงงานในสาขาการผลิตสินค้า 9 สาขาเร่งรัดจำแนกตามระดับการศึกษา ที่มา : การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ
จำนวนแรงงานที่ต้องการและขาดแคลน*(คน)จำนวนแรงงานที่ต้องการและขาดแคลน*(คน) หมายเหตุ : * ขาดแคลน หมายถึงหาคนยาก หาคนไม่ได้ตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.2551. รายงานการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551.
จำนวนแรงงานที่ต้องการจำแนกตามตำแหน่ง (คน) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.2551. รายงานการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551.
ร้อยละของแรงงานที่ต้องการจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน (ปีที่ทำงาน) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.2551. รายงานการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551.
จำนวนแรงงานที่ต้องการ จำแนกตามระดับการศึกษา ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.2551. รายงานการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551.
จำนวนแรงงานที่ต้องการ จำแนกตามระดับการศึกษา ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.2551. รายงานการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551.
จำนวนแรงงานที่ต้องการ จำแนกตามระดับการศึกษา ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.2551. รายงานการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551.
จำนวนแรงงานที่ต้องการ จำแนกตามระดับการศึกษา ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ.2551. รายงานการสำรวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551.
สรุปสถานการณ์กำลังคนในการค้าสินค้า 9 สาขาเร่งรัด • อุตสาหกรรมที่มีจำนวนแรงงานมาก • สิ่งทอ/เสื้อผ้า • ผลิตภัณฑ์เกษตร • ผลิตภัณฑ์ไม้ • คุณลักษณะของแรงงานส่วนใหญ่ใน 9 สาขาเร่งรัด • มีระดับการศึกษาไม่สูงนัก • เป็นพนักงานระดับปฏิบัติ • การสำรวจความต้องการจ้างแรงงานจากทัศนะของนายจ้าง (ไม่เน้นคนมีประสบการณ์, จบมัธยม/ต่ำกว่า ก็ทำงานได้แล้ว) unskilled labor
3. สถานการณ์การเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียน • จำนวนแรงงานเคลื่อนย้ายเข้า-ออกของประเทศในอาซียน • จำนวนแรงงานเคลื่อนย้ายเข้า-ออกของแรงงานไทย
จำนวนแรงงานเคลื่อนย้ายเข้า-ออกของประเทศในอาซียน (stock in2010) Net importers Net exporters Source : The World Bank. The Migration and Remittances Factbook 2011.
จำนวนแรงงานอาเซียนที่ไปทำงานต่างประเทศ จำแนกตามประเทศปลายทาง (stock in2010) Source : The World Bank. The Migration and Remittances Factbook 2011.
จำนวนแรงงานเคลื่อนย้ายภายในอาเซียน (stock in2010) หน่วย : คน Source : The World Bank. The Migration and Remittances Factbook 2011.
ภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย ปี 2010 จำนวนแรงงานต่างด้าว 1,300,281 คน เข้าเมืองถูกกฎหมาย 344,686 คน เข้าเมืองผิดกฎหมาย 955,595 คน ชนกลุ่มน้อย 23,340 คน ตลอดชีพ 14,423 คน MOU 236,569 คน มติครม.3 สัญชาติ 932,255 คน Unknown=? ทั่วไป 70,449 คน Skilled labor BOI 23,245 คน ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
ภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย (ต่อ) • ในปี 2553 แรงงานต่าวด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทำงานตามมติครม. 3 สัญชาติ (พม่า ลาว และกัมพูชา) ส่วนใหญ่ทำงานกรรมกร ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
ภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย (ต่อ) • แรงงานต่าวด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทำงานตามมติครม. 3 สัญชาติ (พม่า ลาว และกัมพูชา) ในปี 2553 จำแนกตามประเภทของงานที่ทำ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
ภาพรวมแรงงานต่างด้าวในไทย (ต่อ) • จำนวนแรงงานต่างชาติที่ยื่นคำขอและได้รับอนุญาตทำงานในไทย (ม.9ทั่วไป) ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
จำนวนแรงงานต่างชาติที่ได้รับอนุญาตทำงานในไทยในปี 25523จำแนกตามอาชีพ และสัญชาติ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
จำนวนแรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศ (คน) ที่มา: สำนักบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
จำนวนแรงงานไทยที่ไปทำงานต่างประเทศปี 2553จำแนกตามประเทศปลายทาง ที่มา: สำนักบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
จำนวนแรงงานไทยที่เดินทางไปทำงานต่างประเทศ ปี 2553จำแนกตามสาขาอาชีพ ที่มา: สำนักบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
สรุปสถานการณ์การเคลื่อนย้ายแรงงานในภูมิภาคอาเซียนสรุปสถานการณ์การเคลื่อนย้ายแรงงานในภูมิภาคอาเซียน • มีการเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียนอยู่แล้ว • การเคลื่อนย้ายแรงงานภายในภูมิภาคอาเซียนเป็นการตอบสนองภาวะขาดแคลนแรงงานในประเทศปลายทาง เช่น • ประเทศไทยมีแรงงานต่างด้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน (ลาว พม่า กัมพูชา) 1.3 ล้านคน • มาเลเซียมีแรงงานต่างด้าวกว่า 2 ล้านคน ส่วนใหญ่มาจากอินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ • บูรไนและสิงค์โปร์ก็มีแรงงานต่างด้าวจากมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียและไทย • แรงงานที่เคลื่อนย้ายในภูมิภาคส่วนใหญ่เป็น unskilled labor ส่วน skilled labor จะผูกติดกับการลงทุนและทำงานใน skill-intensive industries (Manning and Sidorenko,2006)
4.1 กรอบความ ตกลงการค้าบริการอาเซียน (AFAS) 4.2 ข้อตกลงการยอมรับร่วม (MRAs) 4.ข้อตกลง AEC ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศ
4.1 การเปิดเสรีการค้าบริการใน AFAS (ASEAN Framework Agreement on Services)คือ การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการในอาเซียน ข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาด จำนวนผู้ให้บริการ มูลค่าการให้บริการ ปริมาณของบริการ จำนวนของบุคคลที่ให้บริการ ประเภทของนิติบุคคล สัดส่วนการถือหุ้นในนิติบุคคล Market access ตัวอย่างข้อจำกัดต่อการปฏิบัติกับต่างชาติ กฎหมาย/มาตรการที่รัฐของประเทศภาคีมี การใช้บังคับ/ปฏิบัติกับผู้ให้บริการต่างชาติ แตกต่างกับผู้ให้บริการในชาติตน เช่น กฎหมายที่ดิน ข้อจำกัดด้านสัญชาติ ภาษี สัดส่วนเงินกู้ต่อทุน ทุนขั้นต่ำในการนำเงิน เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ เป็นต้น National treatment Mode 1 Mode 2 Mode 3 Mode 4 ที่มา: รณรงค์ พูลพิพัฒน์. Free Flow of Services. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ.
Country A ประเทศ A ประเทศ B การให้บริการข้ามพรมแดน ผู้ให้บริการ ผู้ใช้บริการใน B รูปแบบที่ 1 ผู้ใช้บริการเข้ามาใช้บริการใน A ผู้ให้บริการ ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการ รูปแบบที่ 2 เข้าไปตั้งบริษัททำธุรกิจ ผู้ใช้บริการใน B ผู้ให้บริการ รูปแบบที่ 3 บุคลากรผู้บริการ ข้ามเข้าไปให้บริการ ผู้ใช้บริการใน B รูปแบบที่ 4 ที่มา: รณรงค์ พูลพิพัฒน์. Free Flow of Services. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ.
แนวทางการลดข้อจำกัด - ไม่มีข้อจำกัดการให้บริการ ข้ามพรมแดน - ทยอยให้ต่างชาติถือหุ้น ได้ถึง 70% - ยกเลิกมาตรการที่เป็นอุปสรรคต่อ บริการภายใต้หลักการ NT - ให้คนต่างชาติเข้ามา ทำงานได้มากขึ้น สาขาเร่งรัด: -คอมพิวเตอร์ -โทรคมนาคม -ธุรกิจท่องเที่ยว -สุขภาพ AEC AEC AEC 49% 70% Equity participation Equity participation Equity participation สาขาเร่งรัด: โลจิสติกส์ 70% สาขาอื่นๆ: -วิชาชีพ -ก่อสร้าง -จัดจำหน่าย -การศึกษา -สิ่งแวดล้อม -ขนส่ง -อื่นๆ ทั้งหมด 49% 51% 70% 2008 2010 2013 2015 ที่มา: รณรงค์ พูลพิพัฒน์. Free Flow of Services. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ.
ผลของข้อตกลง AFAS ต่อการเคลื่อนย้ายแรงงาน • จากตารางข้อผูกพันทั่วไปภายใต้ความตกลง AFAS ชุดที่ 7 ประเทศสมาชิกในอาเซียนส่วนใหญ่ไม่ผูกพันการเคลื่อนย้ายบุคลากร
ตารางข้อผูกพันทั่วไปภายใต้ความตกลง AFAS ชุดที่ 7 (ต่อ)
4.2 Mutual Recognition Arrangements : MRAs • ตามปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2547 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้กำหนดให้จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs)ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี • การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีดังกล่าว เป็นการเคลื่อนย้ายเฉพาะแรงงานฝีมือและต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กำหนด ไว้ในข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (MRAs) ของอาเซียน
ปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (MRAs) ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพใน 8 สาขา แพทย์ นักบัญชี** ทันตแพทย์ พยาบาล วิศวกร สถาปนิก ท่องเที่ยว* ช่างสำรวจ** หมายเหตุ : *ไทยยังไม่ได้ลงนาม **เป็นกรอบข้อตกลง
วัตถุประสงค์ของความตกลง MRAs • เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายบุคลากรวิชาชีพในอาเซียน • เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practices)ในการสอนและฝึกอบรมบุคลากรวิชาชีพ ร่วมกันคิดค้นกระบวนการเพื่อนำไปสู่การสร้างมาตรฐานและหลักเกณฑ์การยอมรับร่วมกันสำหรับการดำเนินการตามข้อตกลงฯทั้งนี้เพื่อร่วมมือและเสริมสร้างความสามารถในหมู่สมาชิกอาเซียน
กลไกหลักภายใต้ความตกลง MRAs • ผู้มีอำนาจกำกับดูแลด้านวิชาชีพ (Professional Regulatory Authority : PRA) • องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในประเทศผู้รับ ทำหน้าที่พิจารณาคำขอและอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนหรือยกเลิกทะเบียนบุคลากรที่ผ่านการรับรองมาตรฐานวิชาชีพ • ติดตามตรวจสอบและประเมินการประกอบวิชาชีพของบุคลากรวิชาชีพต่างด้าวจดทะเบียน และทำให้มั่นใจว่าได้ปฏิบัติสอดคล้องกับข้อตกลงฯ • รายงานต่อองค์กรท้องถิ่นและระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องความคืบหน้าการดำเนินการตามข้อตกลงฯ • แลกเปลี่ยนข้อมูลด้านกฎหมาย ข้อปฏิบัติ และความคืบหน้าต่างๆ ที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพภายในภูมิภาค โดยมีความมุ่งหวังในการปรับให้สอดคล้องกันและเป็นไปในแนวทางเดียวกับมาตรฐานในระดับภูมิภาค และ/หรือ ระหว่างประเทศ 2. คณะกรรมการกำกับดูแล(Monitoring Committee: MC) รับผิดชอบด้านการขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตแก่บุคลากรวิชาชีพในประเทศแหล่งกำเนิด
กลไกหลักภายใต้ความตกลง MRAs(ต่อ) 3. คณะกรรมการประสานงานด้านวิชาชีพอาเซียน ประกอบด้วยผู้แทนคณะกรรมการกำกับดูแล (PRA/MC) ของประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้าร่วม • อำนวยความสะดวกในการพัฒนาและคงไว้ซึ่งทะเบียนที่มีผลใช้บังคับและน่าเชื่อถือสำหรับบุคลากรวิชาชีพอาเซียน • ส่งเสริมการยอมรับบุคลากรวิชาชีพอาเซียน ว่ามีความสามารถทางเทคนิคและวิชาชีพทั่วไปที่ทัดเทียมกับบุคลากรวิชาชีพที่ได้ขึ้นทะเบียนหรือได้รับอนุญาตในประเทศแหล่งกำเนิด • ทั้งนี้ บุคลากรวิชาชีพมีสิทธิขออนุญาตต่อองค์กรกำกับดูแลวิชาชีพในประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศนั้นได้ โดย บุคลากรอาเซียนที่ได้รับอนุญาต จะได้ขึ้นทะเบียนเป็นบุคลากรวิชาชีพต่างด้าวจดทะเบียน ซึ่งจะสามารถประกอบวิชาชีพในประเทศนั้นๆ ได้ ภายใต้เงื่อนไขว่าต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ ด้วย เช่น การสอบ-การขอใบอนุญาตประกอบอาชีพ เป็นต้น
คุณสมบัติ/เงื่อนไขสำหรับผู้ที่จะขึ้นทะเบียนเป็นบุคลากรวิชาชีพอาเซียนคุณสมบัติ/เงื่อนไขสำหรับผู้ที่จะขึ้นทะเบียนเป็นบุคลากรวิชาชีพอาเซียน
คุณสมบัติ/เงื่อนไขสำหรับผู้ที่จะขึ้นทะเบียนเป็นบุคลากรวิชาชีพอาเซียน (ต่อ)
5. สรุปและข้อเสนอแนะ • “ตระหนัก” แต่ไม่ “ตระหนก” • ผลมีเฉพาะแรงงานวิชาชีพ/ผู้เชี่ยวชาญ แต่ยังต้องทำตามกฎระเบียบของประเทศปลายทาง – ช่วยรับรองคุณสมบัติ (มีต้นทุนเรื่องภาษา กฎระเบียบ คุ้มรึเปล่า?) แต่ไม่ช่วยลดเงื่อนไขการเข้าทำงานในประเทศปลายทาง • แนวโน้มการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือคงไม่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญจากการรวมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2015 • ยังมีงานที่ต้องเตรียมความพร้อมต่อไป • แนวโน้มกำลังงานแรงงานเข้าสุ่ตลาดน้อยลง + Ageing society พึ่งพาแรงงานต่างด้าวเพิ่มขึ้น การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว • การยกระดับฝีมือแรงงาน เพิ่ม labour productivity • ข้อมูลความต้องการแรงงานที่ทันสมัยและเข้าถึงง่าย และการวางแผนกำลังเชิงรุกในทุกระดับทั้งภาครัฐและเอกชน