1 / 20

หลักเกณฑ์เฉพาะ ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ ์ มอก. 1195-2536

หลักเกณฑ์เฉพาะ ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ ์ มอก. 1195-2536. 2 PR 1195 (0 2 ). หลักเกณฑ์เฉพาะในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ฯ มอก. 1195-2536. PR (เดิม). การอนุญาต. 1. 1 การตรวจสอบการทำ( QC ) (1) ตรวจประเมินโรงงานของผู้ทำ

nissim-pugh
Download Presentation

หลักเกณฑ์เฉพาะ ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ ์ มอก. 1195-2536

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์เฉพาะ ในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ มอก.1195-2536

  2. 2 PR1195 (02) หลักเกณฑ์เฉพาะในการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ฯ มอก. 1195-2536

  3. PR(เดิม) การอนุญาต 1.1การตรวจสอบการทำ(QC) (1) ตรวจประเมินโรงงานของผู้ทำ (2) ตรวจเอกสารแสดงวิธีการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ของผู้ทำในประเทศและต่างประเทศ (3) ตรวจเอกสารตามที่กฏกระทรวง (4) ตรวจระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ของผู้นำเข้า

  4. PR(เดิม) ข้อกำหนดกิจกรรมในระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ของผู้นำเข้าตามภาคผนวก ข ออกใบอนุญาตเป็นรายแบบ/ขนาด

  5. 1.2.2 การเก็บตัวอย่างและการออกใบอนุญาต พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้เก็บตัวอย่าง และ/หรือผู้ขอรับใบอนุญาตยื่นรายงานผลการทดสอบให้ สมอ. พิจารณา ทั้งนี้ จำนวนตัวอย่างต้องเป็นไปตามตาราง ดังนี้

  6. PR(เดิม) 1.3การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องปฏิบัติ 1.3.1ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องจัดให้โรงงานที่ทำผลิตภัณฑ์มีการควบคุม/ ตรวจสอบ/ทดสอบ ทุกรายการตามที่ มอก. กำหนด โดยที่การตรวจสอบแต่ละรายการ อาจกระทำโดยผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้อื่นที่ได้รับมอบหมายก็ได้ 1.3.2 ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องจัดให้โรงงานที่ขอรับใบอนุญาตมีเครื่องมือทดสอบรายการต่อไปนี้ เป็นอย่างน้อย เพื่อทดสอบเป็นประจำที่โรงงาน (1)ความต้านทานของฉนวน (2)ความทนแรงดันของไดอิเล็กทริก (3)การแผ่รังสีที่ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออน (เฉพาะเครื่องรับโทรทัศน์ จอภาพ CRT)

  7. PR(เดิม) การตรวจติดตามผู้รับใบอนุญาตทำและนำเข้า • ตรวจประเมินระบบการควบคุมคุณภาพผู้ทำทั้งในและต่างประเทศและเก็บตัวอย่างตามระดับโรงงาน • ส่งเอกสารบันทึกคุณภาพผลิตภัณฑ์และเก็บตัวอย่างตามระดับโรงงาน • ตรวจประเมินระบบควบคุมคุณภาพของผู้นำเข้าและเก็บตัวอย่างปีละ 2 ครั้ง • เก็บตัวอย่างทุกครั้งที่นำเข้า

  8. PR(ใหม่) การอนุญาต 1.1การตรวจสอบการทำ (QC) (1) ตรวจประเมินโรงงานของผู้ทำทั้งในและต่างประเทศ หรือ (2) ตรวจระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ของผู้นำเข้า

  9. PR(ใหม่) ข้อกำหนดกิจกรรมในระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ของผู้นำเข้า ตามภาคผนวก ข.

  10. การตรวจติดตาม (ใหม่) ผู้รับใบอนุญาตทำ(ม.20) • โดยการตรวจประเมินระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ ณ โรงงานที่ทำผลิตภัณฑ์ในประเทศ • เก็บตัวอย่างตรวจสอบ • ( ความถี่ ปีละ 1 ครั้ง)

  11. การตรวจติดตาม (ใหม่) ผู้รับใบอนุญาตทำ(ม.21) • ตรวจประเมินระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ ณ โรงงานที่ทำผลิตภัณฑ์ในต่างประเทศ หรือ • 2. ตรวจประเมินระบบควบคุมคุณภาพของผู้นำเข้า • (ความถี่ ปีละ 1 ครั้ง) 3. เก็บตัวอย่างตรวจสอบทุกครั้งที่นำเข้า ****

  12. PR(ใหม่) การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องปฏิบัติกรณีตรวจประเมินโรงงานที่ทำทั้งในและต่างประเทศ 1ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องจัดให้โรงงานที่ทำผลิตภัณฑ์มีการควบคุม/ ตรวจสอบ/ทดสอบ ทุกรายการตามที่ มอก. กำหนด โดยที่การตรวจสอบแต่ละรายการ อาจกระทำโดยผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้อื่นที่ได้รับมอบหมายก็ได้ 2 ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องจัดให้โรงงานที่ขอรับใบอนุญาตมีเครื่องมือทดสอบรายการต่อไปนี้ เป็นอย่างน้อย เพื่อทดสอบเป็นประจำที่โรงงาน (1) ความต้านทานของฉนวน (2) ความทนแรงดันของไดอิเล็กทริก (3) การแผ่รังสีที่ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออน (เฉพาะเครื่องรับโทรทัศน์ จอภาพ CRT)

  13. PR(ใหม่) การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่ผู้ขอรับใบอนุญาตนำเข้าต้องปฏิบัติ กรณีผู้นำเข้า(เลือก) ตรวจประเมินระบบควบคุมคุณภาพของผู้นำเข้า 1.ผู้ขอรับใบอนุญาตนำเข้าต้องจัดให้มีการควบคุม/ ตรวจสอบ/ทดสอบ ทุกรายการตามที่ มอก. กำหนด โดยที่การตรวจสอบแต่ละรายการ อาจกระทำโดยผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้อื่นที่ได้รับมอบหมายก็ได้ 2 ผู้ขอรับใบอนุญาตนำเข้าต้องจัดให้มีเครื่องมือทดสอบรายการต่อไปนี้ เพื่อทดสอบเป็นประจำที่สถานที่ของผู้นำเข้า (1)ความต้านทานของฉนวน (2)ความทนแรงดันของไดอิเล็กทริก (3)การแผ่รังสีที่ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออน (เฉพาะCRT) หรืออาจกระทำโดยหน่วยตรวจสอบที่สมอ.ให้การยอมรับ (ไม่ต้องมีเครื่องมือทดสอบ)

  14. การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต(ทำ)การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต(ทำ) เก่า ใหม่ • ตรวจประเมินโรงงาน(ตปท) • ระดับทั่วไป 5 ข้อ • ดี 10 ข้อ • ดีมาก 16 ข้อ • ตรวจประเมินโรงงาน • 10 ข้อ • ส่งเอกสาร QC • ระดับทั่วไป 5 ข้อ • ส่งเอกสารตามกฎกระทรวง • ระดับทั่วไป 5 ข้อ เก็บตัวอย่างตรวจสอบ

  15. การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต(นำเข้า)การตรวจสอบเพื่อการอนุญาต(นำเข้า) เก่า ใหม่ • ตรวจประเมินโรงงาน(ตปท) • ระดับทั่วไป 5 ข้อ • ดี 10 ข้อ • ดีมาก 16 ข้อ • ตรวจประเมินโรงงาน(ตปท) • 10 ข้อ • ส่งเอกสาร QC • ระดับทั่วไป 5 ข้อ • ส่งเอกสารตามกฎกระทรวง • ระดับทั่วไป 5 ข้อ • ตรวจประเมินผู้นำเข้า • 5 ข้อ • ตรวจประเมินผู้นำเข้า • 7 ข้อ

  16. การตรวจติดตาม(ทำ) เก่า ใหม่ • ตรวจประเมินโรงงาน/เก็บตัวอย่าง • ระดับทั่วไป (2 ครั้ง/ปี) • ดี (1 ครั้ง/ปี) • ดีมาก (1 ครั้ง/2ปี) • ตรวจประเมินโรงงาน/ เก็บตัวอย่าง • 1 ครั้ง/ปี • ส่งเอกสารบันทึกคุณภาพ /เก็บตัวอย่าง • ระดับทั่วไป (3 ครั้ง/ปี) • ดี (2 ครั้ง/ปี) • ดีมาก (1 ครั้ง/ปี)

  17. การตรวจติดตาม(ผู้นำเข้า)การตรวจติดตาม(ผู้นำเข้า) เก่า ใหม่ • ตรวจประเมินโรงงาน/เก็บตัวอย่าง • ระดับทั่วไป (2 ครั้ง/ปี) • ดี (1 ครั้ง/ปี) • ดีมาก (1 ครั้ง/2ปี) • ตรวจประเมินโรงงาน • 1 ครั้ง/ปี • เก็บตัวอย่างตรวจสอบ • ทุกครั้งที่นำเข้า**** • ส่งเอกสารบันทึกคุณภาพ /เก็บตัวอย่าง • ระดับทั่วไป (3 ครั้ง/ปี) • ดี (2 ครั้ง/ปี) • ดีมาก (1 ครั้ง/ปี) • ตรวจประเมินผู้นำเข้า • 1 ครั้ง/ปี • เก็บตัวอย่างตรวจสอบ • ทุกครั้งที่นำเข้า**** • ตรวจประเมินผู้นำเข้า/เก็บตัวอย่าง • ระดับทั่วไป (2 ครั้ง/ปี)

  18. แสดงความคิดเห็น

More Related