1 / 44

การ วางแผน และ ควบคุม ทางการตลาด

การ วางแผน และ ควบคุม ทางการตลาด. Contents. แนวคิดแผนการตลาด ความหมายของการวางแผนการตลาด พันธกิจของบริษัทและวัตถุประสงค์ หน่วยธุรกิจและหน่วยกลยุทธ์ธุรกิจ. แนวคิดแผนการตลาด. การตลาด

ollie
Download Presentation

การ วางแผน และ ควบคุม ทางการตลาด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวางแผนและควบคุมทางการตลาดการวางแผนและควบคุมทางการตลาด

  2. Contents • แนวคิดแผนการตลาด • ความหมายของการวางแผนการตลาด • พันธกิจของบริษัทและวัตถุประสงค์ • หน่วยธุรกิจและหน่วยกลยุทธ์ธุรกิจ www.stech.ac.th/blogs/0398

  3. แนวคิดแผนการตลาด • การตลาด หมายถึง กระบวนการทางสังคมซึ่งเอกชนหรือกลุ่มได้สิ่งที่จำเป็นหรือต้องการโดยผ่านช่องทางที่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์และสิ่งที่มีมูลค่ากับบุคคลเดียวหรือกลุ่มบุคคลหนึ่งๆ • การจัดการตลาด หมายถึง กระบวนการของการวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติ และควบคุมโครงการที่ออกแบบเพื่อก่อให้เกิดการสร้างสรรค์และรักษาไว้ ซึ่งประโยชน์ของการแลกเปลี่ยนและความสัมพันธ์กับตลาดเป้าหมายเพื่อที่จะให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ www.stech.ac.th/blogs/0398

  4. แนวคิดแผนการตลาด • การวางแผนการตลาด หมายถึง การออกแบบกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบรรลุวัตถุประสงค์ทางการตลาดและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมทางการตลาด • ความสัมพันธ์ระหว่างแผนการตลาดและแผนองค์กร คือ แผนองค์กรกำหนดผลิตภัณฑ์และตลาดของบริษัท ในขณะที่ตำแหน่งทางการตลาดมีอิทธิพลต่อการวางแผนองค์กร www.stech.ac.th/blogs/0398

  5. พันธกิจของบริษัทและวัตถุประสงค์พันธกิจของบริษัทและวัตถุประสงค์ • David W. Cravens ได้กล่าวถึง ประโยคพันธกิจ (Mission Statement) ไว้ว่า ประกอบด้วยเนื้อหา 6 ประการด้วยกัน คือ • เหตุผลที่บริษัทดำเนินธุรกิจอยู่ • ความต้องการและความจำเป็นของผู้บริโภค • ขอบเขตของความเชี่ยวชาญ • ปริมาณและรูปแบบของการกระจายผลิตภัณฑ์และตลาด • การคาดหวังผลงานของฝ่ายจัดการเพื่อบริษัท • แนวทางกว้างๆ ทั่วๆไป สำหรับกลยุทธ์ทางธุรกิจ www.stech.ac.th/blogs/0398

  6. พันธกิจของบริษัทและวัตถุประสงค์พันธกิจของบริษัทและวัตถุประสงค์ • เนื้อหาของวัตถุประสงค์ของบริษัท ครอบคลุมเนื้อหาดังต่อไปนี้ • การตลาด • การประดิษฐ์คิดค้น • ทรัพยากร • ประสิทธิภาพและประสิทธิผล • สังคม • การเงิน www.stech.ac.th/blogs/0398

  7. หน่วยธุรกิจและหน่วยกลยุทธ์ธุรกิจหน่วยธุรกิจและหน่วยกลยุทธ์ธุรกิจ • แนวทางในการแบ่งหน่วยธุรกิจเพื่อการวางแผน มีดังต่อไปนี้ • แบ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่เสนอโดยบริษัท • กำหนดว่าผลิตภัณฑ์ใดตอบสนองความต้องการที่คล้ายคลึงกัน • รวบรวมหน่วยธุรกิจที่ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หรือสายผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองความต้องการที่คล้ายคลึงกัน • กำหนดความเป็นไปได้ในเชิงการจัดการ การตลาด การดำเนินงานหรือผลประโยชน์อื่นๆ ในการรวบรวมหน่วยแผนธุรกิจ • พิจารณาหน่วยธุรกิจว่าได้ตอบสนองผลประโยชน์ทางการดำเนินงานและทางกลยุทธ์ได้คุ้มค่ามากกว่าค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไป www.stech.ac.th/blogs/0398

  8. หน่วยธุรกิจและหน่วยกลยุทธ์ธุรกิจหน่วยธุรกิจและหน่วยกลยุทธ์ธุรกิจ • กลยุทธ์ทางการตลาด นักการตลาดมีเรื่องที่จะต้องตัดสินใจ 3 ประการ ดังนี้ • ธำรงรักษาหรือเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับตำแหน่งทางการตลาด • เลื่อนตำแหน่งทางการตลาดไปสู่สถานะที่ดีกว่า • หาทางออกจากหน่วยธุรกิจที่ไม่มีโอกาสทางการตลาด www.stech.ac.th/blogs/0398

  9. Contents • กระบวนการวางแผนทางการตลาด • การวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด • การวิจัยและการเลือกตลาดเป้าหมาย • การวางแผนทางการตลาด • การจัดองค์การทางการตลาด • แผนการตลาดในทางปฏิบัติ www.stech.ac.th/blogs/0398

  10. การวิเคราะห์โอกาสทางการตลาดการวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด • สภาพแวดล้อมทางการตลาดต่อโอกาสทางการตลาด มีความสำคัญ คือ สภาพแวดล้อมทางการตลาดส่งผลกระทบให้เกิดโอกาสทางการตลาดหรือเปลี่ยนโอกาสทางการตลาดที่มีอยู่ ซึ่งผู้บริหารทางการตลาดต้องปรับตัวและจัดสรรทรัพยากรทางการตลาดให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมใหม่ • การวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด จะพิจารณาปัจจัยหลัก 2 ประการคือ สภาพแวดล้อมทางการตลาด และพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค www.stech.ac.th/blogs/0398

  11. การวิเคราะห์โอกาสทางการตลาดการวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด • สภาพแวดล้อมทางการตลาด • มีผลกระทบโดยตรงต่อบริษัท ประกอบด้วย ปัจจัยที่มีความใกล้ชิดและมีผลกระทบโดยตรงต่อความสามารถขององค์การที่จะบริการตลาดเป้าหมาย • มีผลกระทบโดยกว้างทั้งระบบธุรกิจ เป็นสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อองค์ประกอบของธุรกิจทั้งระบบ ไม่ว่าจะเป็นตัวองค์การ ลูกค้า คู่แข่งขัน www.stech.ac.th/blogs/0398

  12. การวิเคราะห์โอกาสทางการตลาดการวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด • พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค • ตลาดผู้บริโภค (consumer market) ประกอบด้วยบุคคลและครอบครัว ที่ซื้อสินค้าและบริการสำหรับการบริโภคส่วนตัว เป็นตลาดพื้นฐานของกิจกรรมทางด้านการตลาด • ตลาดองค์การ(organization buyer) ประกอบด้วยบุคคลหรือองค์การ ซึ่งซื้อสินค้าเพื่อจะนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิต ขายหรือจำแนกแจกจ่าย www.stech.ac.th/blogs/0398

  13. การวิจัยและการเลือกตลาดเป้าหมายการวิจัยและการเลือกตลาดเป้าหมาย • การวิจัยการตลาด • หมายถึง การออกแบบ เก็บรวบรวม วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อค้นหาสถานการณ์เฉพาะทางการตลาดที่บริษัทกำลังเผชิญหน้าอยู่ • การเลือกตลาดเป้าหมาย ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ • การแบ่งส่วนตลาด • การกำหนดเป้าหมายทางการตลาด • การกำหนดตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ www.stech.ac.th/blogs/0398

  14. การวางแผนทางตลาดและการจัดองค์การทางการตลาดการวางแผนทางตลาดและการจัดองค์การทางการตลาด • การวางแผนปฏิบัติงานทางการตลาด • เป็นกระบวนการที่ผู้บริหารทางการตลาดค้นหาส่วนประสมทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ ราคา การจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการตลาด ซึ่งถือเป็นแกนสำคัญของแผนปฏิบัติงาน เพื่อที่จะให้เสียต้นทุนน้อยที่สุดในการบรรลุถึงวัตถุประสงค์ทางการตลาด หรืออาจเรียกว่า “การวางแผนส่วนประสมทางการตลาด” www.stech.ac.th/blogs/0398

  15. การวางแผนทางตลาดและการจัดองค์การทางการตลาดการวางแผนทางตลาดและการจัดองค์การทางการตลาด • การจัดองค์การทางการตลาด • ผู้บริหารทางการตลาด จะต้องพัฒนาองค์การทางการตลาด คัดเลือก ฝึกหัด จูงใจและประเมินผลงาน โดยกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานในกิจกรรมต่างๆ ตามแผนการตลาด และจะต้องประสานการทำงานของบุคลากรในแผนการตลาดทั้งภายในและภายนอกของหน่วยงานการตลาด www.stech.ac.th/blogs/0398

  16. แผนการตลาดในทางปฏิบัติแผนการตลาดในทางปฏิบัติ • การจัดทำแผนการตลาด • ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ลักษณะของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและกิจกรรมที่จัดทำ ดังนี้ • กำหนดปัญหา • กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหา • เลือกกิจกรรมทางการตลาดเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหา • ประเมินผลกระทบจากกิจกรรมทางการตลาด www.stech.ac.th/blogs/0398

  17. Contents • การควบคุมทางการตลาด • การควบคุมแผนประจำปี • การควบคุมกำไร • การควบคุมประสิทธิภาพ www.stech.ac.th/blogs/0398

  18. การควบคุมแผนประจำปี • การควบคุมแผนประจำปี (annual-plan control) • เพื่อสร้างความมั่นใจว่าเป้าหมายต่างๆ ที่ตั้งไว้ในแผนงาน ไม่ว่าจะเป็นยอดขาย กำไร หรือเป้าหมายอื่นๆ บรรลุตามที่คาดหมายไว้ในแผนงาน • ขั้นตอนของการควบคุมแผนประจำปี • ตั้งเป้าหมายให้ชัดเจน จนสามารถวัดผลได้ • หมั่นติดตามแผนงานและประเมินผลงานตลอดเวลา • วิเคราะห์ว่าเกิดอะไรขึ้นในกรณีที่ผลงานออกมาไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ • หาวิธีแก้ไขเพื่อให้ทุกอย่างเป็นไปตามเป้าหมาย www.stech.ac.th/blogs/0398

  19. การควบคุมแผนประจำปี • เครื่องมือในการควบคุมแผนงานประจำปี • การวิเคราะห์ยอดขาย (Sales Analysis) • การวิเคราะห์ส่วนแบ่งตลาด (Market Share Analysis) • การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายเป็นเปอร์เซ็นต์ของยอดขาย (Market Expense to Sales Analysis) • การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis) • การวิเคราะห์ทัศนคติผู้บริโภค (Market Based Scorecard Analysis) www.stech.ac.th/blogs/0398

  20. การควบคุมกำไร • การควบคุมกำไร • ผู้บริหารการตลาดสามารถปฏิบัติได้โดยการหามาตรการวัดกำไรของผลิตภัณฑ์ เขตการขาย กลุ่มลูกค้า ช่องทางจัดจำหน่ายและขนาดของคำสั่งซื้อ ซึ่งจะช่วยให้ฝ่ายจัดการ สามารถกำหนดได้ว่า ผลิตภัณฑ์ใดหรือกิจกรรมใด ควรได้รับการขยาย ลด ตัดทอนหรือกำจัดไป www.stech.ac.th/blogs/0398

  21. การควบคุมประสิทธิภาพ • การควบคุมประสิทธิภาพ • ผู้บริหารจะต้องตั้งเป้าหมายหรือมาตรฐานอย่างรอบคอบ เพื่อใช้ในการควบคุม และจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์หาสาเหตุในกรณีที่ประสิทธิภาพที่เกิดขึ้นจริงเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมาย และหาวิธีแก้ไข • ปัจจัยที่ถูกควบคุมประสิทธิภาพ • ประสิทธิภาพด้านการขาย • ประสิทธิภาพด้านการโฆษณา • ประสิทธิภาพด้านส่งเสริมการขาย • ประสิทธิภาพด้านการจัดจำหน่าย www.stech.ac.th/blogs/0398

  22. Contents • การวางแผนทางการตลาด • การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนราคา • การวางแผนการจัดจำหน่าย • การวางแผนการส่งเสริมการตลาด www.stech.ac.th/blogs/0398

  23. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนผลิตภัณฑ์ • มีความสัมพันธ์โดยตรงกับแผนการตลาด สามารถดำเนินการได้ทั้งผลิตภัณฑ์เดิมและผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยสามารถวางแผนการได้หลายแผนการ ดังนี้ • การวางแผนการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการทบทวนเปลี่ยนการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • การวางแผนผลิตภัณฑ์ซ้ำซ้อนกัน • การวางแผนขอบเขตส่วนประสมผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการออกแบบผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการยกเลิกผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ www.stech.ac.th/blogs/0398

  24. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • รูปแบบของการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • การวางแผนตรายี่ห้อเดียว บริษัทจะใช้ผลิตภัณฑ์ตรายี่ห้อเดียวเพื่อตอบสนองส่วนของตลาดส่วนเดียวหรือหลายส่วนตามที่บริษัทตั้งเป้าหมายไว้ • การวางแผนหลายตรายี่ห้อ บริษัทใช้ผลิตภัณฑ์หลายตรายี่ห้อสร้างตำแหน่งผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกันไปในส่วนตลาดต่างๆ กัน เพื่อแสวงหาความเจริญเติบโตในการนำเสนอผลิตภัณฑ์และหลีกเลี่ยงการคุกคามของคู่แข่งต่อตรายี่ห้อเดียว www.stech.ac.th/blogs/0398

  25. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนทบทวนเปลี่ยนการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • สามารถทำได้ 3 วิธีคือ • การวางแผนทบทวนเปลี่ยนการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ระหว่างผู้บริโภคกลุ่มเดิม • การวางแผนทบทวนเปลี่ยนการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ระหว่างผู้ใช้กลุ่มใหม่ • การวางแผนทบทวนเปลี่ยนการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์สำหรับการใช้ใหม่ www.stech.ac.th/blogs/0398

  26. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนผลิตภัณฑ์ซ้ำซ้อนกัน • หมายถึง สถานการณ์ที่บริษัทตัดสินใจแข่งขันระหว่างตรายี่ห้อของบริษัทด้วยกันเอง สามารถทำได้หลายวิธีด้วยกัน คือ • ตรายี่ห้อแข่งขัน • ตรายี่ห้อเอกเทศ • ตรายี่ห้อของผู้ผลิตอุปกรณ์จากส่วนประกอบของผู้ผลิตอื่นๆ www.stech.ac.th/blogs/0398

  27. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนขอบเขตส่วนประสมผลิตภัณฑ์ • ต้องได้รับการจัดวางแผนอย่างระมัดระวัง โดยพิจารณาในทุกแง่มุมของธุรกิจเนื่องจากเกี่ยวข้องกับการผูกพันระยะยาว สามารถทำได้หลายวิธีด้วยกัน คือ • การวางแผนผลิตภัณฑ์ประเภทเดียว • การวางแผนหลายประเภทผลิตภัณฑ์ • การวางแผนระบบของผลิตภัณฑ์ www.stech.ac.th/blogs/0398

  28. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการออกแบบผลิตภัณฑ์ • บริษัทมีทางเลือกในการวางแผนการออกแบบผลิตภัณฑ์ใน 3 ลักษณะด้วยกัน คือ • การวางแผนผลิตภัณฑ์มาตรฐาน • การวางแผนผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบตามความต้องการของผู้บริโภค สำหรับลูกค้าแต่ละคน • การวางแผนผลิตภัณฑ์มาตรฐานที่สามารถดัดแปลงได้ www.stech.ac.th/blogs/0398

  29. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการยกเลิกผลิตภัณฑ์ • ผลิตภัณฑ์จะดูดเอาทรัพยากรทางการเงินและการจัดการของบริษัทไป ซึ่งหากนำไปใช้กับผลิตภัณฑ์ตัวอื่นจะสามารถทำกำไรได้ดีกว่า บริษัทสามารถเลือกได้ 2 วิธี คือ • การวางแผนการปรับสายผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการยกเลิกสายผลิตภัณฑ์ www.stech.ac.th/blogs/0398

  30. การวางแผนผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ • เพื่อการแสวงหาความเจริญเติบโตของบริษัท รักษาความได้เปรียบในผลิตภัณฑ์ปัจจุบันและอนาคต สามารถกำหนดได้ 3 ทางด้วยกัน คือ • การวางแผนการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และการขยายผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการเลียนแบบผลิตภัณฑ์ • การวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ www.stech.ac.th/blogs/0398

  31. การวางแผนราคา • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งราคา • วัตถุประสงค์ของการตั้งราคา • ต้นทุน • การแข่งขัน • อุปสงค์ www.stech.ac.th/blogs/0398

  32. การวางแผนราคา • วัตถุประสงค์ของการตั้งราคา • กำไรระยะยาวสูงสุด • กำไรระยะสั้นสูงสุด • การเจริญเติบโต • ตลาดที่มั่นคง • รักษาความเป็นผู้นำด้านราคา • บั่นทอนกำลังใจคู่แข่งที่จะเข้ามาใหม่ • หลีกเลี่ยงการตรวจสอบและควบคุมของหน่วยงานรัฐบาล • รักษาความจงรักภักดีของคนกลางและส่งเสริมให้ได้รับการสนับสนุนตลอดไป www.stech.ac.th/blogs/0398

  33. การวางแผนราคา • วัตถุประสงค์ของการตั้งราคา • สร้างภาพพจน์ที่ดีของบริษัท • ได้รับการยอมรับถึงความยุติธรรมของราคา • สร้างความสนใจและความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท • ช่วยส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ในสายผลิตภัณฑ์เดียวกันที่ยอดขายตกต่ำ • ป้องกันคู่แข่งตัดราคา www.stech.ac.th/blogs/0398

  34. การวางแผนราคา • ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร • เป็นปัจจัยในการพิจารณาตั้งราคา และต้นทุนรูปแบบอื่นๆ เช่น ต้นทุนส่วนเพิ่ม ต้นทุนเสียโอกาส ต้นทุนที่ควบคุมได้ ต้นทุนเงินสดและต้นทุนแทนที่ • จะต้องทำการพิจารณาถึง 3 ปัจจัย ดังนี้ • อัตราส่วนระหว่างต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร • การประหยัดเนื่องจากขนาด • โครงสร้างของทุนเมื่อเปรีบบเทียบกับคู่แข่ง www.stech.ac.th/blogs/0398

  35. การวางแผนราคา • ปัจจัยด้านการแข่งขัน • มีอิทธิพลที่สำคัญต่อการตั้งราคา ต้องพิจารณาถึงแผนราคาของคู่แข่งขันด้วย โดยจะต้องให้ความสำคัญ ดังนี้ • ใบรายการราคาของคู่แข่งและโฆษณา • ปฏิกริยาต่อการเปลี่ยนแปลงราคาในอดีต • ช่วงระยะเวลาที่คู่แข่งมักมีการเปลี่ยนแปลงราคา และปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงราคา • ข้อมูลเกี่ยวกับการส่งเสริมการตลาดของคู่แข่ง • สายผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งที่เปรียบเทียบได้กับของบริษัท • ข้อสมมติฐานของวัตถุประสงค์ทางการตลาดและการตั้งราคาของคู่แข่ง www.stech.ac.th/blogs/0398

  36. การวางแผนราคา • ปัจจัยด้านการแข่งขัน • รายงานผลการดำเนินงานทางด้านการเงินของคู่แข่ง • ประมาณการต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแผรของคู่แข่ง • การตอบโต้ทางด้านราคาที่อาจเกิดขึ้น • การวิเคราะห์ความสามารถในการตอบโต้และระยะเวลา • ความเข้มแข็งทางด้านการเงินหากมีความเกี่ยวข้องกันในสงครามราคา • ความรุนแรงของการแข่งขันของคู่แข่งโดยรวม www.stech.ac.th/blogs/0398

  37. การวางแผนราคา • การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการแข่งขัน • การวางแผนราคาในสถานการณ์แข่งขันที่แตกต่างกัน ผู้บริหารต้องศึกษาลักษณะการแข่งขันของอุตสาหกรรมในสถานการณ์ ดังนี้ • จำนวนของบริษัทที่แข่งขันในอุตสาหกรรม • ขนาดของสมาชิกต่างๆ ที่เป็นคู่แข่งอยู่ในอุตสาหกรรม • ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ • ความยากง่ายในการเข้าสู่อุตสาหกรรม www.stech.ac.th/blogs/0398

  38. การวางแผนราคา • กลยุทธ์การตั้งราคาโดยการวิเคราะห์อุปสงค์ • ความสามารถของผู้บริโภคในการซื้อ • ความตั้งใจของผู้บริโภคในการซื้อ • ผลกระทบของผลิตภัณฑ์ต่อรูปแบบการดำเนินชีวิตของผู้บริโภค • ราคาของผลิตภัณฑ์ทดแทน • ตลาดที่เป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ • ลักษณะของการแข่งขันที่ไม่ใช่ราคา • พฤติกรรมของลูกค้าในกรณีทั่วๆ ไปต่อการเปลี่ยนแปลงราคา • ส่วนตลาดต่างๆ ที่มีอุปสงค์แตกต่างต่อระดับราคาต่างๆ กัน www.stech.ac.th/blogs/0398

  39. การวางแผนราคา • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา มี 2 ระดับคือ • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาในอุตสาหกรรม • กรณีที่มีการลดราคาผลิตภัณฑ์ลง และก่อให้เกิดความต้องการเพิ่มขึ้น หากลาดราคาลงมีผลกระทบต่อความต้องการผลิตภัณฑ์เพียงเล็กน้อย • ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสำหรับบริษัทใดบริษัทหนึ่งโดยเฉพาะ • เกิดจากอุปสงค์โดยรวมของอุตสาหกรรม บริษัทจะพิจารณาว่าจะได้รับส่วนแบ่งตลาดเท่าไหร่หากมีเปลี่ยนแปลงราคา www.stech.ac.th/blogs/0398

  40. การวางแผนราคา • การวางแผนราคาสำหรับผลิตภัณฑ์ที่วางตลาดแล้ว • ผลิตภัณฑ์ที่วางตลาดอยู่ก่อนแล้ว อาจจะต้องได้รับการพิจารณาเปลี่ยนแปลงราคาเมื่อสภาวะแวดล้อมเปลี่ยนไป โดยเฉพาะราคา ต้นทุนเปลี่ยนแปลง คู่แข่งเปลี่ยนแปลงราคา • วิธีการวางแผนราคาสำหรับผลิตภัณฑ์ที่วางตลาด มี 3 รูปแบบคือ • การวางแผน คง ราคา • การวางแผนลด ราคา • การวางแผนขึ้น ราคา www.stech.ac.th/blogs/0398

  41. การวางแผนราคา • การวางแผนความยืดหยุ่นของราคา • ปัจจัยสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน มีอิทธิพลต่อความยืดหยุ่นราคาในรูปแบบต่างๆ อาจประกอบด้วย • - การตั้งราคาที่แตกต่างกันสำหรับตลาดที่แตกต่างกันตามสภาวะภูมิศาสตร์ ตามระยะเวลาการส่งมอบ และตามรูปแบบที่ผู้บริโภคต้องการ การวางแผนความยืดหยุ่นของราคา • ประกอบด้วย 2 ทางเลือก คือ • การวางแผนวิธีราคาเดียว • การวางแผนวิธีราคายืดหยุ่น www.stech.ac.th/blogs/0398

  42. การวางแผนราคา • การวางแผนราคาของผู้นำตลาด • วิธีการวางแผนราคาของผู้นำตลาด เหมาะสำหรับตลาดที่วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ในช่วงกำลังเติบโต โดยสมาชิกในอุตสาหกรรมต่างได้รับส่วนแบ่งจากตลาดที่น่าพอใจในการรักษาส่วนแบ่งของตนไว้มากยิ่งกว่าการที่จะตั้งราคาแข่งกัน • การตั้งราคาเพื่อการสร้างส่วนแบ่งตลาด มี 2 ประการคือ • ต้องใช้ทรัพยากรลงทุนจำนวนมาก • ราคาของผลิตภัณฑ์ เมื่อกำหนดแล้วจะเป็นการยากที่จะปรับขึ้น www.stech.ac.th/blogs/0398

  43. การวางแผนราคา • การวางแผนราคาสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ • ควรได้รับการพัฒนาเพื่อให้เกิดผลกระทบต่อความต้องการของตลาด ในขณะเดียวกันก็ป้องกันการเข้ามาของคู่แข่ง การวางแผนราคาสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ มีอยู่ 2 วิธีการ คือ • การวางแผนราคาสูง โดยการจับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายระดับบน ผู้บริหารการตลาดต้องใช้จ่ายในการส่งเสริมการตลาดด้วยงบประมาณที่สูง • การวางแผนราคาต่ำ เพื่อการครอบครองส่วนแบ่งทางการตลาดไว้ให้ได้มากที่สุด www.stech.ac.th/blogs/0398

  44. Thank You !

More Related