300 likes | 436 Views
การจัดระบบการดูแลรักษาโดย ผู้ประสานงาน (HIV Coordinator) ในโรงพยาบาลทั่วไป. พญ.อภัชฌา พึ่งจิตต์ประไพ. โครงสร้างการบริหารจัดการ. โครงสร้างการบริหารจัดการ. Refer. NAP ARV. guideline. แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ที่ OPD.
E N D
การจัดระบบการดูแลรักษาโดยผู้ประสานงาน (HIV Coordinator) ในโรงพยาบาลทั่วไป พญ.อภัชฌา พึ่งจิตต์ประไพ
โครงสร้างการบริหารจัดการโครงสร้างการบริหารจัดการ
โครงสร้างการบริหารจัดการโครงสร้างการบริหารจัดการ Refer • NAP • ARV guideline
แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ที่ OPD ผู้ที่จะรับการตรวจเลือด anti HIV จำเป็นจะต้องได้รับการ Pretest และ Posttest counselingจาก counseler เสมอ ถ้าผลเลือดเป็นบวกต้องได้รับการตรวจยืนยันผลและให้ส่งตรวจห้องตรวจอายุรกรรมต่อไป แพทย์อายุรกรรมทำการตรวจและประเมินผู้ป่วย ดังนี้ 1) ซักประวัติตรวจร่างกายประเมินระยะของโรค 2) ค้นหาและรักษา Opportunistic infections, STD 3) พิจารณาให้ OI prophylaxis 4) ส่ง counseling เรื่องการดูแลสุขภาพและให้ความรู้เกี่ยวกับการกินยา ARV 5) ถ้าผู้ป่วยพร้อมที่จะรับยา ARV ให้นัดเข้าคลีนิกสุขภาพพิเศษ วันพุธ 13:00-16:00 น. หรือ ห้องตรวจอายุรกรรม 8:00-12:00 น.
Services in the clinic( คลินิกสุขภาพพิเศษ ) Oct 1st ,06 – June 30th, 07 • HIV/AIDS cases in HIV Clinic…898.. . .cases • New ARV cases … 109… cases • Cumulative ARVcases …440… cases ( NAPHA, ปกส, เบิกได้, จ่ายเอง ) Sep 1st ,07 – Aug 31th ,08 • HIV/AIDS cases in HIV clinic …901… cases • New ARV cases …233…cases • Cumulative ARV cases …668.. Cases • ( NAP, ปกส, เบิกได้, จ่ายเอง )
HIV/AIDS Performance measurment(PM) • HIVQUAL-T เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ การให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วย HIV/AIDS ( Treatment and Care ) • ใช้ HIVQUAL-T ในการวัดผลการให้บริการด้านเอดส์ประจำปี • ตัวชี้วัดใน HIVQUAL-T สามารถนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย • โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ดำเนินการวัดผลการให้บริการด้านเอดส์โดย HIVQUAL-T ในผู้ป่วยที่มารับบริการช่วงปี 2549 และ 2550
HIV/AIDS Performance measurment (PM) HIVQUAL-T PM (for FY 2006) - Case list 942 cases - Sample size 90 cases Male 45 cases Female 45 cases HIVQUAL-T PM (for FY 2007) - Case list 984 cases - Sample size 139 cases Male 43 cases Female 86 cases
ตัวชี้วัดหลัก 7 ข้อ HIVQUAL-T เป้าหมาย > 80% • การติดตาม CD4 • การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ • การให้ยาต้านไวรัส – กินยาสม่ำเสมอ • การคัดกรองวัณโรค • การป้องกันการแพร่เชื้อ • การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ
Quality Improvement Plans/Activities : (FY2007, FY2008) • การติดตามเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อ HIV / AIDS • โครงการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (Adherence)
การติดตามเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อ HIV / AIDS วัตถุประสงค์ : ผู้หญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และเอดส์ ที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพพิเศษ ร้อยละ 80 ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในช่วง เดือนเมษายน 2551 – กันยายน 2551 ตัวชี้วัด : ผู้หญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และเอดส์ ที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพพิเศษ ร้อยละ 80 ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สรุปผลการดำเนินการโครงการ การติดตามเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อ HIV / AIDS; ณ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ตั้งแต่เดือน เมษายน – สิงหาคม 2551 1. จำนวนหญิงติดเชื้อเอช ไอวี และเอดส์ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 86 คน 2. จำนวนหญิงติดเชื้อเอช ไอวี และเอดส์ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ระดับต่างๆ ได้แก่
โครงการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยาโครงการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยา ต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (Adherence) วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมการติดตามการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด : ผู้ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และเอดส์ ที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพพิเศษร้อยละ 80 ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและติดการรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
สรุปผลการดำเนินการโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและติดตาม การรับประทานยาต้านไวรัสต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (Adherence) ตั้งแต่เดือน เมษายน – สิงหาคม 2551 1. จำนวนผู้ที่ติดเชื้อเอช ไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยา จำนวน 60 คน 2. ผู้ป่วยที่รับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอที่ระดับต่างๆ ได้แก่
Lesson Learned • การทำงานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ นำไปสู่การดูแลผู้ป่วยได้ ครอบคลุมทั้ง 5 ด้านตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วย เอช ไอ วี และเอดส์ • การใช้โปรแกรม HIVQUAL-T ในการวัดคุณภาพการดูแล รักษา สามารถนำไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพ ของงาน
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานทั้ง PM/QI ด้านบุคลากร 1. ขาดแคลนบุคลากรทั้งแพทย์ พยาบาล นักเทคนิคการแพทย์ 2. การประสานงานในทีมได้รับผิดชอบโดยตรง แหล่งข้อมูล ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วีและเอดส์ที่ลงบันทึกข้อมูลในเวชระเบียน ไม่ครบถ้วน ทำให้มีปัญหาในการลงข้อมูลใน HIVQUAL-T
ข้อเสนอแนะ เพิ่มทีมบุคลากร ที่มีความสามารถและทำงานได้ เต็มเวลา
หน้าที่หลักของ HIV-Coodinator • ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล • ติดตามและกำกับดูแลระบบการลงข้อมูลผู้ป่วย
กลยุทธ์คงความยั่งยืนในการดูแลรักษาผู้ป่วยเอดส์กลยุทธ์คงความยั่งยืนในการดูแลรักษาผู้ป่วยเอดส์ • นำตัวชี้วัดของงานมาเป็นตัวชี้วัดในระดับกลุ่มงาน , รพ. และระดับสำนักการแพทย์ • แพทย์อายุรกรรมทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาผู้ป่วย • มีอายุรแพทย์โรคติดเชื้อเป็นที่ปรึกษาและกำกับดูแล • มีศูนย์ประสานงานสุขภาพพิเศษอายุรกรรม • มี HIV Coordinator nurse ( full time) • สนับสนุนการอบรมองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง • มีองค์กรสนับสนุนยาต้านไวรัสและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทีมพยาบาล ทีมแพทย์ ทีมเภสัชกร