1 / 19

ขีดความสามารถในการแข่งขัน “ด้านการศึกษา” เมื่อเข้าสู่ AEC 2015

รศ. ดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ ผู้อำนวยการบริหารศูนย์อาเซียนศึกษาแห่งจุฬาฯ นวลพรรณ ธรรมมโนวานิช รักษิณา ศิริทรัพย์ เสกสรร อานันทศิริเกียรติ 24 สิงหาคม 2555. ขีดความสามารถในการแข่งขัน “ด้านการศึกษา” เมื่อเข้าสู่ AEC 2015. มุ่งสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.

rusk
Download Presentation

ขีดความสามารถในการแข่งขัน “ด้านการศึกษา” เมื่อเข้าสู่ AEC 2015

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รศ. ดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ ผู้อำนวยการบริหารศูนย์อาเซียนศึกษาแห่งจุฬาฯ นวลพรรณ ธรรมมโนวานิช รักษิณา ศิริทรัพย์ เสกสรร อานันทศิริเกียรติ 24 สิงหาคม 2555 ขีดความสามารถในการแข่งขัน“ด้านการศึกษา” เมื่อเข้าสู่ AEC 2015

  2. มุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  3. วัตถุประสงค์ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนวัตถุประสงค์ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  4. Prosperity of the Region Increasing employment and external economy Increasing consumption Increasing investment and income

  5. การเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษา เป็นผลพวงหนึ่งจากกรอบความตกลงทางกฎหมายของความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade-in-Service : GATS)  ซึ่งส่งผลให้ “อุดมศึกษา” มีความหมายเป็นส่วนหนึ่งของสินค้าและบริการ และเป็นสาขาหนึ่งในระบบการค้าขายระหว่างประเทศเท่านั้น ที่มา: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โครงการวิจัยเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์รองรับการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา,(กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2550). การเปิดเสรีทางด้านการศึกษา กับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  6. การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนจะทำให้การเคลื่อนย้ายกำลังคนนักศึกษา บุคลากรทางการศึกษาเป็นไปโดยสะดวกมากขึ้น และการเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษาจะส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายองค์ความรู้ ภาษา และวัฒนธรรมระหว่างกัน ภาคอุดมศึกษาจึงจำเป็นต้องปรับตัวเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความพร้อมสำหรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงดังกล่าว ที่มา: “เปิดเสรีการค้าบริการอาเซียนระเบิดเวลาธุรกิจการศึกษาไทย”, ประชาชาติธุรกิจ, ฉบับที่ 4267, 2-5 ธันวาคม 2553, 43. การเปิดเสรีทางด้านการศึกษา กับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  7. “อาเซียนจะส่งเสริมความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน โดยประชาชนเข้าถึงโอกาสอย่างเที่ยงธรรมในการพัฒนามนุษย์ (Human Development) โดยส่งเสริมและลงทุนในด้านการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต การฝึกอบรมและการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมนวัตกรรมและการประกอบการ ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เชิงประยุกต์และเทคโนโลยีในการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ” ที่มา:กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (3 เสา), (กรุงเทพฯ: คาริสม่ามีเดีย, 2555), 133. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในเสาสังคมและวัฒนธรรม

  8. A1. ให้ความสำคัญกับการศึกษา A2. การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ A3. ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม A4. ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอซีที) A5. การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์ A6. เสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำหรับสตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ A7. พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ ที่มา:กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, แผนงานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (3 เสา), (กรุงเทพฯ: คาริสม่ามีเดีย, 2555), 133-139. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในเสาสังคมและวัฒนธรรม

  9. เพิ่มขีดความสามารถ • คุณภาพผู้สอน และผู้เรียน • คุณภาพหลักสูตรการเรียนการสอน • ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ • ระดับนักวิชาการ • ระดับนิสิตนักศึกษา • การแข่งขันในการยกระดับมาตรฐานการศึกษา • Credit Transfer • Quality Assurance (QA) การปรับตัวของภาคการศึกษาเพื่อรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  10. ภาคมหาวิทยาลัย ภาควิชาการ สังคมไทยและสังคมโลก ความคาดหวังของภาคมหาวิทยาลัยต่อด้านการศึกษา ฐานองค์ความรู้ ภารกิจด้านวิชาการและการวิจัย “ผลิตความรู้ที่ใช้ประโยชน์ได้จริง” ฐานบุคลากร ภารกิจด้านการพัฒนาบุคลากร “รู้ลึก รู้รอบ คิดเป็น ทำเป็น”

  11. รูปแบบและแนวทางการบูรณาการความร่วมมือรูปแบบและแนวทางการบูรณาการความร่วมมือ

  12. AUN • Socio-Cultural Community • Education • Human resource development • Capacity Building • Identity & Awareness • As integral part of community integration ASEAN Community The Three Pillars Economic Community Political Community เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนASEAN UNIVERSITY NETWORK (AUN)

  13. เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนASEAN UNIVERSITY NETWORK (AUN)

  14. AUN-QA (AUN-Quality Assurance) ประเทศในกลุ่มอาเซียนได้มีความร่วมมือกันในเรื่องการศึกษา จึงมีการสร้าง AUN-QA เพื่อเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) โดยเน้นพัฒนาการศึกษาอย่างก้าวกระโดด มีการกำหนดตัวชี้วัด (Indicators)ตัวเดียวกันในการวัดหน่วยงาน ผ่านการศึกษาจากหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นที่เป็นจุดร่วมที่จะเรียนรู้ซึ่งกันและกันจะเน้นในเรื่อง วิจัย การบริการ จริยธรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ในค.ศ.2002) และได้พัฒนาถึงระดับของการสร้างมาตรฐานการประเมิน (ในค.ศ.2004) ที่มา:http://www.aunsec.org เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนASEAN UNIVERSITY NETWORK (AUN)

  15. อาเซียนได้ออกแผนแม่บทในเรื่องนี้โดยออกเอกสาร Master Plan on ASEAN Connectivity ด้านการเชื่อมร้อยอาเซียนเข้าด้วยกันในด้านต่างๆ และผู้นำอาเซียนในการประชุม ASEAN Summit ครั้งที่ 17 ที่ประเทศเวียดนามได้ลงนามใน ”ปฏิญญาฮานอย”(Hanoi Declaration) ตามแผนแม่บทเรื่องการเชื่อมต่ออาเซียนเข้าด้วยกัน ได้แบ่งมิติของการเชื่อมต่อออกเป็น 3 ประเภท การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) - การเชื่อมโครงข่ายคมนาคม สารสนเทศ และพลังงานเข้าด้วยกัน การเชื่อมโยงทางกฎเกณฑ์เชิงสถาบัน (institutional connectivity)เรื่องกฎหมาย กำแพงภาษี กฎระเบียบ เป็นต้น การเชื่อมโยงระหว่างประชากรอาเซียน (people-to-people connectivity)เน้นเรื่องการศึกษา วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว ASEAN CONNECTIVITY

  16. 1. การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) • ASEAN Highway Network (AHN) • Singapore Kunming Rail Links (SKRL) • ASEAN Broadband Corridor (ABC) • Melaka-PekanBaru Interconnection – (ASEAN Power Grid IMT-GT) • West Kalimantan-Sarawak Interconnection – (ASEAN Power Grid BIMP-EAGA) • 2. การเชื่อมโยงทางกฎเกณฑ์เชิงสถาบัน (Institutional Connectivity) • Mutual Recognition Arrangements (MRAs) • Standards and Conformity assessment procedures • National Single Window by 2012 • Investment Restrictions and Impediments • ASEAN Agreement on Transport Facilitation ASEAN CONNECTIVITY

  17. หลักการของการเชื่อมโยงระหว่างประชากรอาเซียน(People-to-people Connectivity) คือการส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์กันทางสังคม วัฒนธรรม การศึกษา การสร้างเสริมศักยภาพ รวมถึงการสนับสนุนด้านการท่องเที่ยวผ่านการยกเว้นด้านวีซ่า เพื่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายบุคคล ซึ่งเหล่านี้คือ ยุทธศาสตร์สำคัญที่ทำให้เกิดการเชื่อมโยงทั้งสามเสาหลักของประชาคมอาเซียน โดยแผนแม่บท Master Plan on Connectivity ได้จำแนกโครงการที่สำคัญภายใต้การเชื่อมโยงระหว่างประชากรอาเซียน (people-to-people connectivity) ดังนี้ Easing visa requirements for ASEAN nationals ASEAN Virtual Learning Resources Centers ICT skill standards ASEAN Community Building Program people-to-people connectivity

  18. ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน 24 กุมภาพันธ์ 2555 “...อาเซียนนั้นเกิดจากปฏิญญากรุงเทพ เพราะฉะนั้นอาเซียนจึงเป็นมรดกทางภูมิปัญญาของเราเอง...ผมอยากให้พวกท่านได้ช่วยกันพัฒนาลูกหลานของเราให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า เพื่ออาเซียนของเราทุกคน”

  19. ขอบคุณครับ Q & A

More Related