390 likes | 510 Views
โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านพลังงานของประเทศ 20 ปี ระยะที่ 2 การประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นครั้งที่ 3 ทบทวนวิสัยทัศน์และ กรอบยุทธศาสตร์รายสาขาพลังงาน. 2 2 พฤษภาคม 2556 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ลำดับการนำเสนอ. ทบทวนและสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ร่างวิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์
E N D
โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านพลังงานของประเทศ 20 ปี ระยะที่ 2การประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นครั้งที่ 3ทบทวนวิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์รายสาขาพลังงาน 22 พฤษภาคม 2556 สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลำดับการนำเสนอ • ทบทวนและสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • ร่างวิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์ • ทิศทางการพัฒนาสาขาพลังงาน • ภาคการใช้และประสิทธิภาพพลังงาน • การจัดหาและเข้าถึงปิโตรเลียม • การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า • พลังงานหมุนเวียน • พลังงานอื่นๆ (ถ่านหิน นิวเคลียร์ และอื่นๆ)
1. ทบทวนและสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
Phase I Phase II - Focus group I แนวคิดในการจัดทำแผนแม่บทพลังงานระยะที่ 2 Phase II - Focus group II Phase II - Focus group II
วิสัยทัศน์แผนชาติปี 2570 • ความมั่นคงอาหารและพลังงาน • ระบบผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • พึ่งพาตนเองและแข่งขันได้ • ธรรมาภิบาล • นโยบายรัฐบาลด้านพลังงาน • การสร้างรายได้ให้ประเทศ • ความมั่นคงทางพลังงาน • ราคาเป็นธรรมและสะท้อนต้นทุน • พลังงานทดแทน • ประสิทธิภาพพลังงาน เป้าหมายการพัฒนาแผนแม่บทพลังงาน (Key decision focus)
บริบทแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาพลังงานสู่เป้าหมายบริบทแวดล้อมที่ส่งผลต่อการพัฒนาพลังงานสู่เป้าหมาย • ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การค้า การลงทุนที่ไร้พรมแดน • การผูกขาดในธุรกิจพลังงานและสถานการณ์ความไม่สงบในกลุ่มประเทศผู้ผลิตพลังงาน • สภาวะเศรษฐกิจ ประชากร และเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างในอนาคต • ความผันผวนของราคาพลังงานในอนาคต • นโยบายชัดเจนและมีความต่อเนื่อง • กลไก/เครื่องมือในการขับเคลื่อนแผนเพียงพอและมีประสิทธิภาพ: เศรษฐกิจ-พลังงาน-อุตสาหกรรม-ขนส่ง-เกษตร-สิ่งแวดล้อม • อำนาจหน้าที่ชัดเจน มีการประสานและบูรณาการเป็นเอกภาพ • ระบบฐานข้อมูล การวิเคราะห์ มีการเผยแพร่และโปร่งใส • ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีทั่วโลก และรูปแบบที่มีความหลากหลายมากขึ้น • การเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ Smart grid • การพัฒนาเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงกับศักยภาพของไทย • การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร • การพัฒนานิคมการเกษตร วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ • ความเชื่อมโยงที่สลับซับซ้อนของระหว่างอาหาร พลังงานและน้ำ • ภัยธรรมชาติและปริมาณน้ำฝน • การรับรู้ข่าวสารของสังคมในโลกเสรี • กระบวนการมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน • พฤติกรรมและการปรับตัว • ความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่ส่งผลต่อความมั่นคงของระบบพลังงาน • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และความต้องการลดก๊าซเรือนกระจก • การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จากกิจกรรมและโครงการต่างๆ
จัดลำดับความสำคัญและประเมินความเสี่ยง (ความไม่แน่นอน) I. Caution • II. Critical Uncertainty • การมีส่วนร่วม ความตระหนักรู้ของสังคม • สังคมเหลื่อมล้ำ กระจายผลประโยชน์ • ข้อตกลง Climate Change และกลไกสะอาด • โครงสร้างเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ • เทคโนโลยีและทรัพยากร • สถานการณ์ความขัดแย้งในต่างประเทศ และราคาน้ำมันในตลาดโลก • การเมือง ธรรมภิบาล ความต่อเนื่องและชัดเจนของนโยบาย Impact • III. Low impact • ประเด็นระหว่างประเทศ ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • การจัดการทรัพยากร อาหาร พลังงาน น้ำ และ Zoning • ราคาอาหารและสินค้าเกษตร • การพัฒนาโครงการพลังงานในประเทศเพื่อนบ้าน • การรับรู้ข้อมูลข่าวสารในโลกเสรี และอื่นๆ Uncertainty
ผลกระทบและความไม่แน่นอนของปัจจัยเสี่ยงในเอเซียผลกระทบและความไม่แน่นอนของปัจจัยเสี่ยงในเอเซีย ที่มา: 2013 World Energy Issues Monitors
แนวคิดในการฉายภาพอนาคตพลังงานไทยเชิงปริมาณแนวคิดในการฉายภาพอนาคตพลังงานไทยเชิงปริมาณ กรอบการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยขับเคลื่อนตามช่วงเวลา Reference scenario Coma scenario Healthy scenario ภาคการใช้พลังงานรายสาขา อุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง เกษตร ครัวเรือนและอาคารพาณิชย สถานการณ์ต่างประเทศ และราคาน้ำมันในตลาดโลก การแทรกแซงการเมือง ธรรมาภิบาล และการขับเคลื่อนของภาครัฐ โครงสร้างเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ การมีส่วนร่วม การปรับตัว และการตระหนักรู้ของสังคม ข้อตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศการพัฒนาเทคโนโลยี และแหล่งพลังงาน ภาคการผลิตและจัดหาพลังงาน การผลิตไฟฟ้า โรงกลั่นน้ำมัน โรงแยกก๊าซธรรมชาติ และการแปรรูปพลังงานในรูปแบบต่างๆ ปริมาณสำรองเชื้อเพลิงและศักยภาพพลังงานทดแทน • ผลกระทบเชิงปริมาณ • ดัชนีชี้วัดด้านต่างๆ เช่น ความต้องการพลังงานต่อประชากร สัดส่วนการนำเข้าปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และอื่นๆ • ผลกระทบเชิงคุณภาพ • ทัศนคติและการยอมรับของสังคม • ผลกระทบจากปัจจัยด้านการเมือง การมีส่วนร่วม และอื่นๆ
การจัดเรียงโครงสร้างพลังงานสำหรับแบบจำลองการจัดเรียงโครงสร้างพลังงานสำหรับแบบจำลอง
ความสัมพันธ์ของปัจจัยขับเคลื่อนความสัมพันธ์ของปัจจัยขับเคลื่อน 1. ราคาน้ำมัน ในตลาดโลก 3. มูลค่าทางเศรษฐกิจ รายสาขา 2. เป้าหมายของแผนฯ และเทคโนโลยี
สรุปสถานการณ์และภาพอนาคตพลังงานในอีก 20 ปีข้างหน้า
สรุปสถานการณ์และภาพอนาคตพลังงานในอีก 20 ปีข้างหน้า • แนวโน้มความต้องการพลังงานในภาพรวมและระดับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง • พลังงานไฟฟ้าจะมีบทบาทในโครงสร้างการใช้พลังงานเพิ่มมากขึ้นในอนาคต • ประสิทธิภาพพลังงานในภาพรวมมีการพัฒนาในทิศทางที่ดีขึ้น • ความต้องการนำเข้าเชื้อเพลิงฟอสซิลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญโดยเฉพาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ • การเติบโตของพลังงานทดแทนมีเพิ่มมากขึ้น การกระจายชนิดเชื้อเพลิงมีมากขึ้น แต่ยังคงต้องพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นหลักโดยเฉพาะภาคการผลิตไฟฟ้าและภาคคมนาคมขนส่ง
2. ร่างวิสัยทัศน์ กรอบยุทธศาสตร์
แผนพลังงานและแผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆแผนพลังงานและแผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ + SWOT ในแต่ละภูมิภาค ปัจจัยขับเคลื่อน V.S. ปัจจัยเสี่ยง (ลำดับความสำคัญและความไม่แน่นอน) ภาพอนาคตการใช้และการจัดหาพลังงานและผลกระทบด้านต่างๆ (Scenario) Opportunity Strength Weakness Threat 1. เชื้อเพลิง (การใช้ การจัดหา ชนิด) 2. สาขาเศรษฐกิจ (อุตสาหกรรม คมนาคม พาณิชยกรรม เกษตร และอื่นๆ) 3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (เจ้าภาพ บทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ) 4. กรอบเวลา (ระยะสั้น – กลาง - ยาว)
ร่างวิสัยทัศน์ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก กรอบยุทธศาสตร์
3. กรอบยุทธศาสตร์รายสาขาพลังงาน- ชนิดเชื้อเพลิง- ข้อกำหนดสำหรับแผนพลังงานแต่ละด้าน- เจ้าภาพหลักและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ข้อกำหนดและกรอบการพัฒนาพลังงานรายสาขา ชนิดเชื้อเพลิง และผู้มีส่วนได้เสีย 5. พลังงานอื่นๆ 2. การจัดหาและการเข้าถึงปิโตรเลียม 4. พลังงานหมุนเวียน 3. การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า 1. การใช้และประสิทธิภาพพลังงาน
1. การใช้และประสิทธิภาพพลังงาน • การใช้พลังงานส่วนใหญ่มาจากภาคอุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง และอาคาร การใช้ไฟฟ้ามีบทบาทสำคัญในภาคอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และที่อยู่อาศัย และคาดว่าจะมีบทบาทมากขึ้นเรี่อยๆ น้ำมันยังคงเป็นเชื้อเพลิงหลักในภาคคมนาคมขนส่ง แม้ว่าภาครัฐมีเป้าหมายการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพมากขึ้น แต่ยังทดแทนได้ไม่มากนัก • ดัชนี้ชี้วัดด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาพรวมของไทยในรอบ 10 ปีที่ผ่านมายังไม่ดีนักเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆและค่าเฉลี่ยของโลก โดยเฉพาะการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนและระบบราง • ปัจจุบันมีมาตรการด้านประสิทธิภาพพลังงานภายใต้ พรบ. อนุรักษ์พลังงาน สำหรับโรงงานและอาคารควบคุม รวมถึงมาตรการเชิงสมัครใจในรูปแบบต่างๆ ภายใต้กองทุนอนุรักษ์ฯ
1. สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงานและประสิทธิภาพ การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายรายสาขาเศรษฐกิจ (กรณีอ้างอิง)
1. สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงานและประสิทธิภาพ ความเข้มข้นการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย
O S O1: การเติบโตของเศรษฐกิจโดยเฉพาะภาคบริการ และการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้นภายใต้การเปิดเขตเศรษฐกิจ S1: มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาด้านประสิทธิภาพพลังงาน O2: โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ S2: มีความพร้อมในแหล่งทุนโดยเฉพาะกองทุนอนุรักษ์พลังงาน O3: การพัฒนาเทคโนโลยีและประสิทธิภาพของอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องจักร ยานยนต์และนวัตกรรมต่างๆ W1: มีการอุดหนุนเชื้อเพลิงฟอสซิลบางประเภท T1: นโยบายประชานิยม การกระตุ้นเศรษฐกิจและการบริโภค W2: อุปสรรคการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการเชิงบังคับ T2: ความตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ายังมีความสำคัญน้อยกว่าราคาและต้นทุน W3: ขาดเจ้าภาพหลักที่ดูแลด้านประสิทธิภาพโดยตรงและเป็นศูนย์กลางในการทำงานอย่างเป็นเอกภาพ T3: โครงสร้างพื้นฐานและระบบขนส่งมวลชนยังขาดการพัฒนาเท่าที่ควร W T
1.สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงาน1.สาขาเศรษฐกิจในภาคการบริโภคพลังงาน วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก
2. การจัดหาและเข้าถึงปิโตรเลียม • ไทยนำเข้าน้ำมันดิบมาเพื่อกลั่นเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเพื่อตอบสนองการใช้ในประเทศและมีแนวโน้มที่ต้องนำเข้าทั้งน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง • การจัดหาก๊าซฯส่วนใหญ่เป็นก๊าซจากอ่าวไทย บางส่วนนำเข้าจากพม่า และในอนาคตมีแนวโน้มนำเข้าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญโดยเฉพาะในรูป LNG • โครงข่ายท่อก๊าซเชื่อมต่อกับโรงไฟฟ้าและนิคมอุตสาหกรรมเป็นหลัก สถานี NGV นอกแนวท่อใช้การขนส่งทางรถบรรทุก
2. การจัดหาและเข้าถึงปิโตรเลียม การนำเข้าสุทธิ (กรณีอ้างอิง)
O S S1: มีกลไกการทำงานรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน (แผนรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน) O1: โอกาสจากการเติบโตของตลาดเทคโนโลยีใหม่ เช่น Unconventional oil & gas, ตลาด LNG O2: ศักยภาพในการสร้างรายได้ให้กับประเทศจากธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี S2: มีกองทุนน้ำมันเป็นกลไกในการบริหารจัดการความเสี่ยง S3: ภาคธุรกิจมีศักยภาพในการแข่งขัน มีประสบการณ์ และความพร้อมในการลงทุน โครงสร้างกิจการในระบบกึ่งผูกขาดการกำกับกิจการ และการส่งเสริมการแข่งขันในธุรกิจปิโตรเลียม W1: แนวโน้มการนำเข้าปิโตรเลียมเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ T1: ความเปราะบางของภาวะเศรษฐกิจโลก สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างประเทศ ความผันผวนของราคาน้ำมันในตลาดโลก และแนวโน้มราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นในระยะยาว W2: การเข้าถึงสถานีบริการ NGV และต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการขนส่งทางรถบรรทุก W3: ความขัดแย้ง ความเข้าใจในข้อมูล ข่าวสาร และข้อเท็จจริงในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม W T
2.การจัดหาและการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม2.การจัดหาและการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก
3. การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า • ไทยพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซฯเป็นส่วนใหญ่ การใช้พลังงานหมุนเวียนมีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องภายใต้การสนับสนุนจากภาครัฐ แต่ยังไม่เพียงพอต่ออัตราความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การรับซื้อไฟฟ้าจากเพื่อนบ้านมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น • กิจการไฟฟ้าใช้รูปแบบ Enhanced Single Buyer โดยมี กฟผ. รับซื้อไฟฟ้าจาก IPP SPP และ VSPP และดูแลระบบส่ง มี กฟน. และ กฟผ. ดูแลระบบจำหน่าย • ปัญหาความขัดแย้งในการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าในพื้นที่และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นประเด็นที่มีความสำคัญ มีกองทุนพัฒนาโรงไฟฟ้าเป็นกลไกหลักในการพัฒนาพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า • ระบบสายส่งจะมีบทบาทสำคัญในการซื้อขายไฟฟ้าภายใต้บริบท AEC
3. การจัดหาและเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในภาคการผลิตไฟฟ้า (กรณีอ้างอิง)
O S O1: โอกาสจากการเติบโตของเทคโนโลยีใหม่ เช่น Smart grid และความหลากหลายของเทคโนโลยีในอนาคต S1: ภาคธุรกิจมีศักยภาพในการแข่งขัน มีประสบการณ์ และความพร้อมในการลงทุน O2: ศักยภาพการจัดหาพลังงานไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะในกลุ่ม GMS S2: มีกองทุนพัฒนารอบโรงไฟฟ้าเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการในพื้นที่ O3: การส่งเสริมธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมระดับชาติ O4: การเติบโตของเศรษฐกิจในต่างจังหวัดและภูมิภาคอาเซียน S3: ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้าที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ W1: ความต้องการไฟฟ้ามีแนวโน้มเติบโตอย่างมากในอนาคต T1: ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ไม่ปกติของประเทศเพื่อนบ้านที่ไทยนำเข้าไฟฟ้า หรือก๊าซธรรมชาติ W2: สัดส่วนการพึ่งพาก๊าซสำหรับการผลิตไฟฟ้าอย่างมาก W3: ปัญหาความขัดแย้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าในพื้นที่ W T
3.การจัดหาและการเข้าถึงไฟฟ้า3.การจัดหาและการเข้าถึงไฟฟ้า วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก
4. พลังงานหมุนเวียน • ประเทศไทยมีศักยภาพด้านพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานชีวภาพสูง • ปัจจุบันมีการใช้พลังงานหมุนเวียนส่วนใหญ่ในภาคคมนาคมขนส่ง (เอทานอลและไบโอดีเซล) และภาคการผลิตไฟฟ้า (ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ แสงอาทิตย์ ขยะ ลม น้ำขนาดเล็ก) ภายใต้การสนับสนุนจากภาครัฐ • ตลาดพลังงานหมุนเวียนมีแนวโน้มการเติบโตสูงอย่างมีนัยสำคัญในอนาคต แต่ยังไม่สามารถทดแทนความต้องการพลังงานที่เพิ่มขึ้นได้ • แผนพลังงานทดแทนได้เริ่มพิจารณาเทคโนโลยีใหม่ๆที่มีศักยภาพแต่ยังไม่มีการพัฒนาในเชิงพาณิชย์หลายประเภท เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพรุ่นที่ 2 เชี้อเพลิงจากสาหร่าย ก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน เซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา เป็นต้น
O S O1: โอกาสจากแนวโน้มการเติบโตของพลังงานทดแทนและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องทั่วโลกและต้นทุนที่ลดลงของเทคโนโลยีใหม่ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ S1: มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนและมีกลไกสร้างแรงจูงใจในการใช้พลังงานหมุนเวียน S2: มีการกำหนดมาตรฐานและราคาอ้างอิงที่ชัดเจนโดยเฉพาะเชื้อเพลิงชีวภาพ O2: การพัฒนากลไกสะอาดและข้อตกลงระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ S3: มีศักยภาพพลังงานหมุนเวียนสูงโดยเฉพาะด้านเกษตร ขยะเทศบาลและชุมชน O3: การเติบโตของเศรษฐกิจในต่างจังหวัด W1: ข้อจำกัดและผลกระทบที่มีต่อระบบไฟฟ้า T1: ความต้องการน้ำ และการใช้ประโยชน์ของพื้นที่จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่น W2: ข้อจำกัดด้านโลจิสติกส์หว่างแหล่งวัตถุดิบ การผลิต และตลาดผู้ใช้ T2: สถานการณ์ราคาน้ำมันดิบและราคาคาร์บอนในตลาดโลก W3: พึ่งพาการนำเข้าเทคโนโลยีและมีองค์ประกอบที่ต้องนำเข้าสูง T3: ในภาพรวมยังมีต้นทุนต่อหน่วยพลังงานสูงกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล W T
4.พลังงานหมุนเวียน วิสัยทัศน์: ทุกภาคส่วนร่วมขับเคลื่อนพลังงานคู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ สร้างรายได้ให้ประเทศและกระจายสู่สังคมอย่างทั่วถึง มีภูมิคุ้มกันต่อวิกฤติพลังงานโลก
O S O1: โอกาสจากการพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด และ Carbon Capture and Storage (CCS) S1: เทคโนโลยีสามารถสร้างความมั่นคงเชื่อถือได้ และมีต้นทุนต่อหน่วยต่ำ O2: การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและการเป็นตลาดเชื้อเพลิงหลักของโลกในปัจจุบัน S2: ภาคธุรกิจไทยมีศักยภาพในการแข่งขัน มีประสบการณ์ และมีความพร้อมในการลงทุน W1: นโยบายถ่านหินผันแปรตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา T1: การเติบโตของตลาดเชื้อเพลิงคู่แข่งโดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติ่ W2: โดยเฉลี่ยส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมมากเมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่นๆ T2: ข้อตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและแนวโน้มราคาคาร์บอน W3: พึ่งพาการนำเข้าเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ W T
O S S1: เทคโนโลยีสามารถสร้างความมั่นคงเชื่อถือได้ มีต้นทุนต่อหน่วยและอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำได้ในเวลาเดียวกัน O1: โอกาสจากการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่มีประสิทธิภาพและความเชื่อถือมากขึ้น O2: ข้อตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและแนวโน้มราคาคาร์บอน W1: นโยบายนิวเคลียร์มีความไม่แน่นอน และผันแปรตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา T2: การเติบโตของอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ทั่วโลกยังไม่ชัดเจน มีทั้งนโยบายที่สนับสนุนและไม่สนับสนุนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ W2: ขาดประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและบุคคลากร W3: ประสบปัญหาความขัดแย้งและการยอมรับ W T
การระดมความคิดเห็นครั้งที่ 4 • ทบทวนวิสัยทัศน์ กรอบยุทธศาสตร์ และข้อกำหนดรายสาขา • เจ้าภาพและบทบาทของภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวทางการบูรณาการณ์ระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ • ความเชื่อมโยงและกรอบเวลาของแผนพลังงานในแต่ละด้าน
www.eppo.go.th www.eri.chula.ac.th