180 likes | 744 Views
ชื่อโครงการ พี่สอนน้อง รักการออม ปีงบประมาณ 2557 ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณัฐพล เพชรบุตร ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ระยะเวลาดำเนินการ ระหว่างวันที่ 27 มกราคม ถึง 5 พฤศจิกายน พ . ศ . 2557 วันที่จัดกิจกรรม วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ . ศ . 2557 เวลา 09.00 – 12.00 น.
E N D
ชื่อโครงการ พี่สอนน้อง รักการออมปีงบประมาณ 2557ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณัฐพล เพชรบุตร ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ระยะเวลาดำเนินการ ระหว่างวันที่ 27 มกราคม ถึง 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 วันที่จัดกิจกรรม วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557 เวลา 09.00 – 12.00 น.
หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินการ วิธีการดำเนินงาน ทรัพยากรที่ใช้ คณะวิทยากร การประเมินผล ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช • โครงการส่งเสริมให้เยาวชนรู้จักและรักการออม • สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร หลักการและเหตุผล • พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ “ต้นแบบเยาวชนรักการออม” • นิสัยการใช้เงินหรือนิสัยการออม ต้องได้รับการปลูกฝังและได้รับการสอนตั้งแต่เด็กๆ • ถ้าพื้นฐานในเรื่องของพฤติกรรมการออมดี จะติดตัวกับเด็กตลอดไป • การจัดทำโครงการ “พี่สอนน้อง รักการออม” • เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังให้นักเรียนได้รู้จักและรักการออม และยังให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง
1. เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนมีนิสัยรักการออม • 2. เพื่อสร้างกิจกรรมสันทนาการที่ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องของการออม • 3. เพื่อให้นักเรียนรู้ถึงประโยชน์ของการออม วัตถุประสงค์
3.1 ด้านปริมาณ 3.1.1นักเรียนชั้นอนุบาลโรงเรียนบ้านเกาะดอน (เลิศสินธุ์ประชาสรรค์) จำนวน 30 คน3.1.2 นิสิตคณะวิทยาการสารสนเทศ (คณะจัดทำโครงการ) จำนวน 9 คน 3.1.3ครูประจำชั้นโรงเรียนบ้านเกาะดอน (เลิศสินธุ์ประชาสรรค์) จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน40คน 3.2 ด้านคุณภาพ นักเรียนชั้นอนุบาลโรงเรียนบ้านเกาะดอน (เลิศสินธุ์ประชาสรรค์) สามารถรู้ประโยชน์ของการออม และมีนิสัยในการรักการออม เป้าหมาย
โครงการ “พี่สอนน้อง รักการออม” • ดำเนินโครงการ อยู่ระหว่างวันที่ 27 มกราคม ถึง 5 พฤศจิกายน 2557 • ดำเนินการจัดกิจกรรม วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ.2557 • รูปแบบโครงการ เป็นการสร้างกิจกรรมสันทนาการ ให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการออม • กับกลุ่มนักเรียนชั้นอนุบาล 3 จำนวน 30 คน เวลาจัดกิจกรรม 09.00 – 12.00 น. • โดยมีรายละเอียดกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ วิธีการดำเนินงาน
รายละเอียดการทำโครงการรายละเอียดการทำโครงการ • เดือนที่สอง คุณครูจะไม่บังคับ แต่จะพูดให้เด็กนักเรียนเดินไปหยอดกระปุกเองที่ • หลังห้อง ซึ่งมีมุม สำหรับโครงการคือ “มุมหนูน้อย รักการออม” • โดยจะเก็บกระปุกออมสินของเด็กนักเรียนทุกคนไว้ที่มุมนี้ • และมีปฏิทินที่ทำขึ้นเอง 2 เดือน สำหรับให้คุณครูประจำชั้นคอยเช็คว่าออมไปกี่วันแล้ว • เดือนแรกที่เริ่มหยอด ให้คุณครูประจำชั้นคอยเตือนเด็กนักเรียน • ว่าวันนี้หยอดเงินหรือยัง? และเป็นการเช็คชื่อไปในตัวด้วย • (เดือนนี้จะเป็นการบังคับเพื่อให้เด็กทำซ้ำๆทุกวัน จนติดเป็นนิสัย)
หลักการจูงใจ • รางวัลได้แก่ กระเป๋าดินสอโคเชต์ (ถักโดยเพื่อนสมาชิกในกลุ่ม), กระปุกออมสินสวยๆ และอุปกรณ์การเรียน • โชว์ของรางวัลให้น้องดู แล้วถามน้องว่าใครอยากได้ให้ยกมือขึ้น แล้วบอกน้องว่า พี่จะไม่ให้วันนี้ แต่ถ้าอยากได้ ต้องหยอดกระปุก วันละหนึ่งบาท ทุกวันที่มาโรงเรียน • ในสิ้นเดือน จะมาให้รางวัลน้องคนที่ออมเงินตามจำนวนที่ออมได้ ถ้าน้องออม ทุกวัน (เดือนละอย่างน้อย 22 บาท) จะได้กระเป๋าดินสอโคเชต์ และถ้าน้อยกว่า 22 บาทต่อเดือน จะได้ของรางวัลอื่นๆ ตามการพิจารณาจากพี่ๆ ตัวย่างของรางวัล
- วัสดุอุปกรณ์การทำละครมือ 382 บาท ดังนี้ - ถุงเท้ายาว 10 คู่ 200 บาท - กระดาษสี 3 แผ่น 24 บาท - กาว 1 กระปุก 35 บาท - ไหมพรม 3 ม้วน 103 บาท - เข็มกับด้าย 1 อัน 20 บาท - วัสดุอุปกรณ์ทำมุม “หนูน้อยรักการออม” หลังห้อง 119 บาท ดังนี้ - กระดาษสี 3 แผ่น 24 บาท - กาวสองหน้า 2 อัน 40 บาท - กาว 1 กระปุก 35 บาท - สีเมจิ 2 อัน 20 บาท 1. การสนับสนุนงบประมาณ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา 2. งบประมาณ 11,217บาท มีรายละเอียดดังนี้ - ค่าอาหารนักเรียนและพี่เลี้ยง 1,560 บาท (คนละ 40 บาท จำนวน 40 คน จำนวน 1 วัน) - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปกลับ 2,970 บาท (คนละ 330 บาท จำนวน 9 คน) - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประชุมชี้แจงครูประจำชั้นอนุบาล 660 บาท (คนละ 330 บาท จำนวน 2 คน) - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปติดตามผลหลังจากจัดทำโครงการครั้งที่ 1 1320 บาท (คนละ 330 บาท จำนวน 4 คน) - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปติดตามผลหลังจากจัดทำโครงการครั้งที่ 2 1320 บาท (คนละ 330 บาท จำนวน 4 คน) - รางวัลและของว่าง 780 บาท (คนละ 20 บาท จำนวน 30 คน) 3. บุคลากร ครูประจำชั้นอนุบาลโรงเรียนบ้านเกาะดอน (เลิศสินธุ์ประชาสรรค์) 4. สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านเกาะดอน (เลิศสินธุ์ประชาสรรค์) ตำบลคลองเปรง อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา - วัสดุอุปกรณ์ในการทำกระปุกในฝัน 1,106 บาท ดังนี้ - กระปุกออมสิน 30 กระปุก 600 บาท - กาวน้ำ 3 กระปุก 90 บาท - กระดาษสี 7 แผ่น 56 บาท - กรรไกร 7 อัน 140 บาท - สติกเกอร์ตัวการ์ตูน 7 แผ่น 100 บาท - เชือกประดิษฐ์ 5 เมตร 50 บาท - กากเพชร 7 กระปุก 70 บาท - วัสดุอุปกรณ์การทำกระเป๋าดินสอโคเชต์1,000 บาท ดังนี้ - ไหมพรม 20 ม้วน 700 บาท - ซิปติดกระเป๋าดินสอ 60 อัน 300 บาท ทรัพยากรที่ใช้
1). นางสาวจิราพร รอมลีนิสิตชั้นปี 2 2). นายนิติธร ดิษฐาพร นิสิตชั้นปี 2 3). นายภาณุพงศ์ แสนเตชะ นิสิตชั้นปี 2 4). นางสาวลัดดา ไทยเจริญ นิสิตชั้นปี 2 5). นายเจนบดินทร์ อยู่เป็นสุข นิสิตชั้นปี 2 6). นางสาวซาฟูรอ ฆาเราะ นิสิตชั้นปี 2 7). นายณัฐพล เพชรบุตร นิสิตชั้นปี 2 8). นางสาวณัฏฐ์รดา เมธากรณ์อนันต์ นิสิตชั้นปี 2 9). นางสาวเย็นฤดี ผลสนอง นิสิตชั้นปี 2 คณะวิทยากร คณะวิทยาการสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
ประเมินผลโครงการโดยการติดตามผลหลังจากที่จัดทำกิจกรรมไปแล้ว 2 เดือน ดังนี้ 1. ประเมินจากแบบสอบถามการออมเงินของนักเรียนจากคุณครูประจำชั้น 2. สังเกตพฤติกรรมการออมของนักเรียนชั้นอนุบาลที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม 3. สรุปผลการออมเดือนแรกและเดือนที่ 2 ของนักเรียน การประเมินผล
1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการออม จากละครมือและกิจกรรมสันทนาการต่างๆ • 2. สามารถทำให้นักเรียนรู้จักและรักในการออม อันจะนำไปสู่ผลพลอยได้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต • 3. นักเรียนมีความสนุกสนานกับกิจกรรมที่จัดขึ้น เพื่อการสร้างนิสัยในการออม • 4. เมื่อจบกิจกรรม นักเรียนสามารถทำการออมเงินต่อได้ที่บ้าน ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ชื่อโครงการ พี่สอนน้อง รักการออมปีงบประมาณ 2557ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณัฐพล เพชรบุตร ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ระยะเวลาดำเนินการ ระหว่างวันที่ 27 มกราคม ถึง 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 วันที่จัดกิจกรรม วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557 เวลา 09.00 – 12.00 น.