630 likes | 1.19k Views
แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของการประปานครหลวง (RDI Master plan) พ.ศ. 2557-2561. วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 โรงแรมรามาการ์เดนส์. กรอบการนำเสนอ. 1. กระบวนการจัดทำแผนแม่บท RDI. การวิเคราะห์องค์กร. 3. ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม. 4. RDI Roadmap.
E N D
แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง (RDI Master plan) พ.ศ. 2557-2561 วันจันทร์ที่ 17กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 โรงแรมรามาการ์เดนส์
กรอบการนำเสนอ 1. กระบวนการจัดทำแผนแม่บท RDI การวิเคราะห์องค์กร 3. ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม 4. RDI Roadmap 5. ปัจจัยสู่ความสำเร็จ 6. สถาบันวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมการประปานครหลวง
กระบวนการจัดทำแผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของ กปน. แผนการดำเนินงานที่สำคัญของ กปน. ยุทธศาสตร์/แผนแม่บท บริบทการเปลี่ยนแปลงภายนอกและภายในประเทศ นโยบายรัฐบาล (Agenda) บทบาทหน้าที่ของ กปน.(Function) ประมวลและวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต(Scenario) • แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) • ยุทธศาสตร์การวิจัยแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (2555-2559) • นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (2555-2564) • การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องของพนักงานและผู้บริหาร กปน. • จัดทำร่างแผนแม่บท RDI (พ.ศ. 2557-2561) (ฉบับร่างที่ 1) • ระดมความคิดและประชาวิจารณ์ • เสนอคณะกรรมการบริหาร กปน.พิจารณา • แผนแม่บท RDI (พ.ศ. 2557-2561)
กรอบแนวคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของ กปน. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ภารกิจ และ หน้าที่ของ กปน. แผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำสูญเสีย นโยบายและแผน วทน. ฉบับที่ 1 (2555-2559) แผนการจัดการคุณภาพน้ำการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2555-2559) การคาดการณ์ผลกระทบและโอกาสของ กปน. ยุทธศาสตร์การบริหาร กปน. (พ.ศ. 2555 -2559) การวิเคราะห์ภารกิจของการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ของ การประปานครหลวง
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงของโลกสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงของโลก • กฎกติกาใหม่ของโลกในการบริหารจัดการด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เช่น การค้าและการลงทุน การเงิน สิ่งแวดล้อม • การปรับตัวเข้าสู่หลายศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ • การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ • ภาวะโลกร้อน • ปัญหาในด้านอาหารและพลังงาน • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ASEAN • ขยายตลาดและความร่วมมือภูมิภาคเพิ่มขึ้น • กฎกติกา เป็นสากลขึ้น และ การแข่งขันสูงขึ้น โดยเฉพาะภาคบริการ • เทคโนโลยี IT มีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตมากขึ้นและเพิ่มอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการสื่อสาร • การค้าและบริการเปลี่ยนแปลงสู่ธุรกิจภาคบริการรูปแบบใหม่ๆ Innovation สังคมผู้สูงอายุ • • โครงสร้างประชากรศาสตร์เปลี่ยนผู้สูงอายุเพิ่มจำนวนมากขึ้น • ความต้องการผลิตภัณฑ์อุปโภคบริโภคที่มีคุณภาพ การขยายตัวของเมือง • รูปแบบการใช้ใช้ชีวิตของคนเมืองที่อยู่ในแนวตั้ง • จำนวนประชากรเพิ่มขึ้น Global warming • ผลกระทบต่อสภาพแห่งน้ำและปริมาณน้ำ • กระแส การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Green Economy
ปัจจัยภายนอก การพัฒนางาน RDI ตลอดห่วงโซ่มูลค่า การเปิดเสรีการค้าภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ส่งผลให้เกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจ และอุปสงค์ต่อสินค้าสาธารณูปโภค มีองค์กรวิจัย พัฒนา ทั้งภาครัฐและเอกชนของต่างประเทศเข้ามาดำเนินกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทยได้มากขึ้น • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วย RDI • การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ • แนวทางการบริหารงาน RDI ที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่ม • ใช้ KM เป็นเครื่องมือในการสร้างสรรค์ และต่อยอดผลงาน RDI สู่การไปใช้ประโยชน์ • ใช้เครือข่ายหน่วยงานความร่วมมือเสริมสร้างขีดความสามารถ RDI กปน • ใ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรศาสตร์ รวมถึงรูปแบบการใช้ชีวิต ส่งผลโดยตรงต่อรูปแบบของที่พักอาศัยที่เติบโตเชิงแนวดิ่ง ในรูปแบบของอาคารสูงมากขึ้น ปัจจัยภายใน การกีดกันทางการค้าในรูปของมาตรฐานสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ทำให้ผู้ประกอบการภายในประเทศต้องใช้เวลาในการปรับตัวอันเนื่องมาจากต้นทุนการผลิตและโครงสร้างการผลิตที่ต้องใช้ต้นทุนที่สูงขึ้น มีขอบเขตการดำเนินงานที่ชัดเจน แต่ยังขาดการกำหนดทิศทางการพัฒนาด้าน RDI ในการเป็นหนึ่งในกลไกขับเคลื่อนองค์กร การพึ่งพาเทคโนโลยีและอุปกรณ์จากต่างประเทศ และการขาดการส่งเสริม/พัฒนาศักยภาพทางเทคโนโลยีภายในประเทศ บทบาทของสถาบันพัฒนาวิชาการประปา ไม่ชัดเจนและยังไม่มีการบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานภายในด้าน RDI อย่างเป็นรูปธรรม ยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. บริบทการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการดำเนินงานด้าน RDI ของกปน.
การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม การประเมินโอกาส ภัยคุกคาม จุดแข็งและจุดอ่อนของ กปน.
การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. แนวทางเชิงรุก (SO Strategy) : เพื่อนำจุดแข็งและโอกาสมาใช้ องค์ความรู้/ ความเชี่ยวชาญองค์กร ความสัมพันธ์ที่ดีต่อ หน่วยงานภายนอก ASEAN โครงสร้างพื้นฐาน RDI เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ RDI เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการ สร้างและขยายเครือข่าย/พันธมิตรด้าน RDI RDI เพื่อให้บริการด้านการจัดการแรงดันน้ำสำหรับที่พักอาศัยที่เป็นอาคารสูง ประเด็นยุทธศาสตร์
การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. แนวทางเชิงแก้ไข (WO Strategy) : เพื่อปรับปรุงตนเอง เป้าหมายการพัฒนาบุคคลากรไม่ชัดเจน ขาดระบบบริหารการวิจัย/ บทบาท สพป. ไม่ชัดเจน/ ขาดระบบการบริหารการวิจัย ปัญหาน้ำสูญเสียสูง ไม่มีแหล่งน้ำดิบ RDI เพื่อแก้ปัญหาน้ำสูญเสีย RDI เพื่อลดการสูญเสียทรัพยากร และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน พัฒนาระบบการบริหารจัดการงาน RDI พัฒนาระบบ HRด้าน RDI และเส้นทางอาชีพของนักวิจัย ประเด็นยุทธศาสตร์
การประเมินศักยภาพของ กปน.โดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. แนวทางเชิงป้องกัน (ST Strategy) : เพื่อกำจัดภัยคุกคาม ทัศนคติเชิงลบต่อการบริโภคน้ำประปา ปริมาณและคุณภาพน้ำดิบ ต้นทุนการผลิตน้ำประปา RDI เพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย RDI เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปา RDI เพื่อบริหารจัดการแหล่งน้ำดิบ RDI เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตน้ำประปา ประเด็นยุทธศาสตร์ แนวทางเชิงรับ (WT Strategy) : เพื่อลดความเสี่ยง RDI เพื่อการผลิตน้ำประปาเพื่อลดความเสี่ยงจากภาวะที่ปริมาณและคุณภาพน้ำดิบอาจมีความผันผวน ประเด็นยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ RDI เพื่อลดการสูญเสียทรัพยากร และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน RDI เพื่อการผลิตน้ำประปาเพื่อลดความเสี่ยงจากภาวะที่ปริมาณและคุณภาพน้ำดิบอาจมีความผันผวน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 RDI เพื่อบริหารจัดการแหล่งน้ำดิบ RDI เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปา RDI เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตน้ำประปา RDI เพื่อแก้ปัญหาน้ำสูญเสีย RDI เพื่อให้บริการด้านการจัดการแรงดันน้ำสำหรับที่พักอาศัยที่เป็นอาคารสูง RDI เพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 RDI เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพระบบโครงสร้างพื้นฐานและการให้บริการ พัฒนาระบบ HRด้าน RDI และเส้นทางอาชีพของนักวิจัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างและขยายเครือข่าย/พันธมิตรด้าน RDI พัฒนาระบบการบริหารจัดการงาน RDI RDI เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา 13
ยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมยุทธศาสตร์การวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ แผนแม่บทด้านการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม(2557-2561) วิสัยทัศน์: เป็นองค์กรแนวหน้าในระดับอาเซียนด้านการวิจัย พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อกิจการประปา พันธกิจ: • วิจัย พัฒนา และนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่คุณค่าในกิจการประปา • เพื่อสร้างความเชื่อมั่น บริหารและต่อยอดงานวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์และบริการด้านการประปา ยุทธศาสตร์: การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และยุทธศาสตร์ระดับประเทศ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ยุทธศาสตร์ RDI • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ความเข็มแข็งภาคเกษตรกรความมั่นคงของอาหารและพลังงาน • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และยุทธศาสตร์ระดับประเทศ เป้าประสงค์/เป้าหมาย ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามแผน วช. ฉบับที่ 8 ยุทธศาสตร์ RDI • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 1. การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา 2. การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 3. การอนุรักษ์ เสริมสร้าง และพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ 4.การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนานวัตกรรมและบุคลากรทางการวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา 5.การปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ เพื่อการบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทรัพยากร และภูมิปัญญาของประเทศสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ ด้วยยุทธวิธีที่เหมาะสมที่เข้าถึงประชาชนและประชาสังคมอย่างแพร่หลาย เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามแผน วทน. ฉบับที่ 1 ยุทธศาสตร์ RDI เป้าประสงค์/เป้าหมาย • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ • การขยายพื้นที่บริการให้ครอบคลุมพื้นที่ชุมชน 100% • เพิ่มขีดความสามารถด้านดารผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • ส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา การพัฒนาความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ด้วย วทน. การเพิ่มขีดความสามารถ ความยืดหยุ่น และนวัตกรรมในภาคเกษตร ผลิตและบริการด้วย วทน. การเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศด้วย วทน. ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ เป้าประสงค์: สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียของ กปน. การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพทุนมนุษย์ของประเทศด้วย วทน เป้าประสงค์: สนับสนุน หรือ ส่งเสริม โครงการหรือกิจกรรม ด้าน วิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ที่เกี่ยวกับธุรกิจเสริม ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยเอื้อในการพัฒนา วทน. ของประเทศ
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ RDI ของ กปน. และ แผน/ยุทธศาสตร์ระดับองค์กรที่สำคัญ ยุทธศาสตร์การบริหาร กปน. ฉบับที่3 แผน/ยุทธศาสตร์อื่นๆ ที่สำคัญ แผนแม่บท RDI ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา F1: การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ F2: การสร้างรายได้ให้เติบโตอย่างยั่งยืน F3: การเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน แผนจัดการคุณภาพน้ำ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร C1: ความต้องการพื้นฐาน C2 : ความคาดหวัง C3: การตอบสนองความต้องการและความ คาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสมดุล ยุทธศาสตร์ที่ 1. สร้างนวัตกรรมการบริการ ด้วย ICTเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และข้อมูลสารสนเทศแบบบูรณาการ เพื่อเพิ่มผลผลิต และสร้างธรรมาภิบาลของ การประปานครหลวง P1: การผลิตและส่งน้ำด้วยมาตรฐานสูงอย่าง มั่นคง เพียงพอ และยั่งยืน P2: การมุ่งเน้นลูกค้า ตลาด และการบริการที่ เป็นเลิศ P3: การบริหารจัดการกระบวนการอย่างมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับงานวิศวกรรม และการผลิตเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรฐานความรู้ แผนแม่บทการบูรณาการงานบริหารจัดการจัดการน้ำสูญเสีย L1: การยกระดับการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล L2: การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ L3: การสร้างขีดความสามารถขององค์กร • กลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการน้ำสูญเสีย • กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยี • กลยุทธ์การพัฒนากระบวนงานบนฐานความรู้ระดับสากล G1: การยกระดับการบริหารจัดการที่ดี ด้วย หลักธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง วิสัยทัศน์: เป็นองค์กรแนวหน้าในระดับอาเซียนด้านการวิจัย พัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อกิจการประปา • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ การให้บริการด้วยน้ำประปาที่สะอาด ทั่วถึงเพียงพอ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา พัฒนาระบบส่งน้ำให้มีมาตรฐานสูง เพื่อสร้างความยั่งยืนและมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ การยกระดับมาตรฐานการให้บริการที่เป็นเลิศโดยเพิ่มระดับความพอใจของผู้รับบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การขยายโอกาสทางธุรกิจและสร้างคุณค่าบริการต่อสังคมด้วยงานวิจัยพัฒนา เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR
ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ กปน. • สร้างเทคโนโลยีการผลิตน้ำให้บริการชุมชนนอกเครือข่ายเส้นทางส่งน้ำ • เพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนโครงการด้านการจัดการ ด้านคุณภาพ และปริมาณสำรองที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยีด้านการจัดการ กลยุทธ์ที่ 1.1: การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : • จำนวนโครงการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำประปารองรับน้ำคุณภาพต่างๆที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยี ทางเลือกสำหรับผลิตน้ำประปา • จำนวนสิทธิบัตรกระบวนการผลิตน้ำประปาจากน้ำดิบคุณภาพต่างๆ กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย • จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่สร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนนวัตกรรม การรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย • จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนด้านการรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย กลยุทธ์ที่1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ • ร้อยละความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาในแต่ละเขตพื้นที่สูงขึ้น • จำนวนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการสร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนสิ่งตีพิมพ์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์น้ำประปาดื่มได้ • เป้าประสงค์: • สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียและการเพิ่มแรงดันน้ำ • สนับสนุนการนำเอา IT, มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการการสื่อสารผู้ใช้น้ำ กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 2 • จำนวนกระบวนการทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนสิทธิบัตรทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ • จำนวนสิ่งตีพิมพ์การเพิ่มแรงดันน้ำใน DMAจำนวนนวัตกรรมการเพิ่มแรงดันน้ำในท่อบริการ • จำนวนโครงการการเพิ่มแรงดันที่ได้รับการสนับสนุน กลยุทธ์ที่ 3.1 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ • จำนวนสิทธิบัตร สิ่งตีพิมพ์ ที่เพิ่มขึ้น • จำนวนโครงการต่อยอดเทคโนโลยีจากการพัฒนากระบวนการภายในที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 เป้าประสงค์: สนับสนุนส่งเสริม การวิจัยพัฒนา และต่อยอดผลงานสู่การสร้างนวัตกรรมที่เสามารถสร้างธุรกิจเสริม หรือ CSR กลยุทธ์ที่ 3.2การวิจัย พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการให้บริการ • จำนวนช่องทางการสื่อสารการให้บริการที่เพิ่มขึ้น • จำนวนโครงการการพัฒนานวัตกรรมการบริการที่ได้รับการสนับสนุน กลยุทธ์ที่ 3.3 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมสีเขียวในกิจการประปา • จำนวนโครงการนวัตกรรมสีเขียวที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่แนวทางการสร้างนวัตกรรมสีเขียว • จำนวนโครงการที่ได้มีการนำไปใช้ประโยชน์ กลยุทธ์ที่ 3.4 การพัฒนาการวิจัยแบบก้าวกระโดด • จำนวนนักวิจัยใหม่ • จำนวนแนวทางเทคโนโลยี/นวัตกรรมในอนาคต • จำนวนองค์ความรู้ใหม่
แนวทางการพิจารณาจัดลำดับความสำคัญแนวทางการพิจารณาจัดลำดับความสำคัญ
กลยุทธ์ที่ 1 Drivers สภาวะโลกร้อน มีผลต่อคุณภาพ และปริมาณแหล่งน้ำดิบ ความต้องการและคาดหวังของผู้ใช้น้ำด้านคุณภาพน้ำ การขยายตัวของชุมชน ปริมาณ แหล่งน้ำดิบ และเส้นทางน้ำดิบ มีผลต่อการรักษาคุณภาพแหล่งน้ำ Targets มีปริมาณแหล่งน้ำดิบเพียงพอ มีน้ำดิบคุณภาพสม่ำเสอสามารถบริหารจัดการได้ เทคโนโลยีการวิเคราะห์ทดสอบน้ำ เทคโนโลยีเมมเบรน กลยุทธ์ที่ 1.1 การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ มีข้อมูลเพียงพอและทันกาลในการเตรียมความพร้อมด้านการผลิตเมื่อคุณภาพน้ำเปลี่ยน • เทคโนโลยีเซนเซอร์ • เทคโนโลยีเมมเบรน แนวทางการดำเนินงาน กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ Resources เครื่องมือที่ใช้ตรวจวัดคุณภาพน้ำแบบ Real Time 2561 2557 2558 2559 2560 สื่อสารองค์กร นักวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย กลยุทธ์ที่ 1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ • SMART GRID เทคโนโลยีที่ต้องการ เทคโนโลยีเซนเซอร์ เทคโนโลยีข้อมูข่าวสาร เทคโนโลยีวัสดุ
กลยุทธ์ที่ 2 Drivers รูปแบบการดำเนินการชีวิตที่มีการใช้ ข้อมูลสื่อสารแบบไร้สายมากขึ้น กระแสการประหยัดพลังงาน Green economy การลงทุนระบบท่อสูงมาก การขึ้นค่าน้ำที่ไม่สามารถทำได้ การขยายตัวของเมือง และรูปแบบการอยู่อาศัยในแนวตั้งมากขึ้น Targets สร้างเทคโนโลยีการลดน้ำสูญเสีย การให้บริการที่ รวดเร็ว สะดวก เหมาะกับความต้องการที่เปลี่ยนไป เทคโนโลยีมาตรวัดน้ำ เทคโนโลยีหุ่นยนต์ กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร เทคโนโลยีการจัดการแรงดัน • เทคโนโลยีมาตรวัดน้ำ แนวทางการดำเนินงาน กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ Resources นักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านมาตร ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ 2561 2557 2558 2559 2560 ห้องปฏิบัติการด้านอิเล็กทรอนิกส์ • เทคโนโลยีหุ่ยนต์ กลยุทธ์ที่ 2.3 การวิจัย พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการให้บริการ • SMART GRID เทคโนโลยีที่ต้องการ เทคโนโลยีเซนเซอร์ เทคโนโลยีข้อมูข่าวสาร เทคโนโลยีวัสดุ
Roadmap summary : Prioritize and selection 1.1 การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย 3.3 การพัฒนาการวิจัยแบบก้าวกระโดด 3.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมสีเขียวในกิจการประปา 1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ 3.1 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 2.3การวิจัย พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการให้บริการ Timeframe 2557 2558 2559 2560 2561
ปัจจัยสู่ความสำเร็จการขับเคลื่อนแผนแม่บทการวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม ของการประปานครหลวง (พ.ศ. 2557-2561)
1 แผนแม่บท RDI 2 การส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยจากผู้นำระดับสูง 3 โครงสร้างการบริหารงานวิจัยคล่องตัว สอดคล้องกับงานวิจัย 4 กลไกการบริหารงานวิจัย ปัจจัย สู่ ความสำเร็จ 5 การจัดสรรงบประมาณ 6 การพัฒนานักวิจัย และการสร้างแรงจูงใจ 7 การใช้เครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา และหน่วยงานวิจัย
สถาบันวิจัย พัฒนา และ นวัตกรรมการประปานครหลวง
คณะกรรมการบริหาร การประปานครหลวง คณะกรรมการบริหาร การประปานครหลวง ผู้ว่าการการประปานครหลวง รอง ผวก. 1 รอง ผวก. 2 รอง ผวก. 3 กรรมการบริหาร สถาบันวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมประปา ผู้อำนวยการ รอง ผอ. วิจัย และพัฒนา รอง ผอ. บริหาร และนวัตกรรม กองวิจัยพัฒนานวัตกรรม กองแผนยุทธศาสตร์วิจัย กองจัดการความรู้ กองพัฒนากระบวนงานและนวัตกรรม สถาบันวิจัย พัฒนา และ นวัตกรรมการประปานครหลวง
บทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน กองจัดการความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา กองแผนงานและยุทธศาสตร์วิจัย จัดทำแผนแม่บทงานวิจัย แผนอัตรา กำลังคน แผนเครื่องมือและอุปกรณ์ สร้างฐานข้อมูลความรู้, เผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ กองพัฒนากระบวนงานและนวัตกรรม กองวิจัยและพัฒนา คัดเลือก จัดสรร ติดตามและดำเนินงานวิจัย ใช้ประโยชน์ ผลงานวิจัย ในเชิงสังคม และเชิงพาณิชย์
แผนภูมิขั้นตอนการบริหารงานวิจัยแผนภูมิขั้นตอนการบริหารงานวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนา ยุทธศาสตร์ หน่วยงานวิจัยภายนอก กลยุทธ์ หน่วยงานวิจัยภายใน แผนแม่บทวิจัยฯ Innovation Knowledge database คัดเลือก ดำเนินโครงการ Research Knowledge KM KPI Pass Commercialize Transfer Tech. ประเมินผล การบ่มเพาะและการจัดการความรู้
ขั้นตอนการกำหนดโจทย์วิจัยขั้นตอนการกำหนดโจทย์วิจัย วิเคราะห์/ กำหนดโจทย์วิจัย KPI องค์กร พิจารณากรอบวิจัย กำหนดรูปแบบงานวิจัย หน่วยงานวิจัยภายนอก หน่วยงานวิจัยภายใน = กองแผนงานและยุทธศาสตร์การวิจัย = กองวิจัยและพัฒนา
การคัดกรองโครงการวิจัยการคัดกรองโครงการวิจัย นำเสนอโครงการวิจัยและพัฒนา ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ คัดเลือก แผนแม่บทวิจัยฯ แผนอัตรากำลังคน แผนเครื่องมือ/อุปกรณ์ = กองแผนงานและยุทธศาสตร์การวิจัย = กองวิจัยและพัฒนา = คณะผู้ทรงคุณวุฒิ ดำเนินโครงการ และติดตามผล Research KPI NO KM PASS ประเมินผล โครงการตามตัวชี้วัด
การจัดการความรู้และนวัตกรรมการจัดการความรู้และนวัตกรรม = กองวิจัยพัฒนา = กองจัดการความรู้ = กองพัฒนากระบวนงานและนวัตกรรม = คณะผู้ทรงคุณวุฒิ Knowledge database Innovation หน่วยงานปฏิบัติงานภายใน KM Knowledge Commercialize Pass หน่วยงานภายใน และต่างประเทศ ประเมินผล Transfer Tech. ผลิตภัณฑ์/เทคโนโลยี องค์ความรู้
ผลผลิตของแผนแม่บท RDI จำนวน สิ่งตีพิมพ์ จำนวนสิทธิบัตร จำนวนบทความประชาสัมพันธ์ จำนวนผลงานวิจัยที่สามารถต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ จำนวนกระบวนงานในการผลิตและ การบริการที่ได้รับการพัฒนา
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ • กปน. เป็นที่รู้จักเพิ่มขึ้นใน วงการวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศ • ลดค่าใช้จ่ายจากการปรับปรุงและพัฒนากระบวนงาน • มีนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญ เป็นที่รู้จักมากขึ้น • ผลงานสร้างการยอมรับความเชี่ยวชาญด้านการประปา มากขึ้น • เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา • เป้าประสงค์: • เพิ่มความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ในเขตพื้นที่การให้บริการของ • การขยายพื้นที่บริการให้ครอบคลุมพื้นที่ชุมชน 100% • เพิ่มขีดความสามารถด้านดารผลิตน้ำประปาตามความต้องการผู้ใช้น้ำ • ส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพน้ำประปาดื่มได้ กลยุทธ์ที่ 1.1: การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย กลยุทธ์ที่1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ • ตัวชี้วัด: • จำนวนโครงการด้านการจัดการ ด้านคุณภาพ และปริมาณสำรองที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยีด้านการจัดการ • ตัวชี้วัด • จำนวนโครงการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำประปารองรับน้ำคุณภาพต่างๆที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนเทคโนโลยี ทางเลือกสำหรับผลิตน้ำประปา • จำนวนสิทธิบัตรกระบวนการผลิตน้ำประปาจากน้ำดิบคุณภาพต่างๆ • ตัวชี้วัด: • จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่สร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนนวัตกรรม การรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย • จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนด้านการรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย • ตัวชี้วัด: • ร้อยละความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาในแต่ละเขตพื้นที่สูงขึ้น • จำนวนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการสร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ • จำนวนสิ่งตีพิมพ์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์น้ำประปาดื่มได้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่ 1.1: การจัดการคุณภาพและปริมาณแหล่งน้ำดิบ ตัวชี้วัด: จำนวนโครงการด้านการจัดการ ด้านคุณภาพ และปริมาณสำรองที่ได้รับการสนับสนุน จำนวนเทคโนโลยีด้านการจัดการ โครงการ 1.1.1 โครงการพัฒนาระบบตรวจติดตาม เฝ้าระวัง และปรับปรุงคุณภาพน้ำดิบด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1.2 โครงการพัฒนานวัตกรรมการตรวจวัดคุณภาพน้ำดิบ ด้วยเทคนิคทางชีวภาพและทางกายภาพ 1.1.3 โครงการพัฒนาแหล่งน้ำดิบสำรองและศึกษาแหล่งน้ำทางเลือกรองรับผลกระทบปัญหาโลกร้อน 1.1.4 โครงการพัฒนาและสร้างความตระหนักรักษ์คุณภาพน้ำดิบให้แก่ชุมชนรอบแหล่งน้ำดิบ 1.1.5 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีและระบบบริหารจัดการเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและนิเวศน์วิทยาให้มีแหล่งน้ำดิบเพียงพอและยั่งยืน 1.1.6 โครงการศึกษาเสถียรภาพ และความมั่นคงของตลอดลำคลองส่งน้ำดิบ ของ กปน. กรณีศึกษาคลองฝั่งตะวันออก และคลองฝั่งตะวันตก 44
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาให้มีคุณภาพสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด จำนวนโครงการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ำประปารองรับน้ำคุณภาพต่างๆที่ได้รับการสนับสนุน จำนวนเทคโนโลยี ทางเลือกสำหรับผลิตน้ำประปา จำนวนสิทธิบัตรกระบวนการผลิตน้ำประปาจากน้ำดิบคุณภาพต่างๆ โครงการ โครงการ • 1.2.1 โครงการพัฒนากระบวนการผลิตน้ำประปาที่สามารถรองรับน้ำดิบ คุณภาพต่าง ๆ • 1.2.2 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีทางเลือกสำหรับการผลิตน้ำประปา เช่น เทคโนโลยีเมมเบรน หรือ เทคโนโลยีโอโซน • 1.2.3 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบผลิตน้ำประปาในระบบผลิตโดยวิธีการกรองเพื่อลดต้นทุน • 1.2.4 โครงการพัฒนาระบบการผลิตน้ำประปาคุณภาพเฉพาะตามความต้องการของลูกค้า • 1.2.5 โครงการพัฒนาระบบการเติมสารเคมีประสิทธิภาพสูง 45
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่ 1.3 การวิจัยและพัฒนาเพื่อรักษาคุณภาพน้ำในระบบส่งจ่าย ตัวชี้วัด: จำนวนสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่สร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ จำนวนนวัตกรรม การรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนด้านการรักษาคุณภาพน้ำประปาในระบบส่งจ่าย โครงการ 1.3.1 โครงการพัฒนาระบบตรวจติดตามคุณภาพน้ำตลอดเส้นท่อในระบบสูบส่งและจ่ายน้ำ 1.3.2 โครงการพัฒนาวัสดุนาโนเคลือบผิวท่อ ลดการเกิดตะกอน สำหรับส่งน้ำ 1.3.3 โครงการพัฒนาระบบล้างกำจัดและป้องกันการเกิดตะกอนในท่อ และถังเก็บน้ำด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์ 1.3.4 โครงการพัฒนานวัตกรรมอุปกรณ์ตรวจวัดและรักษาคุณภาพน้ำประปาดื่มได้หน้าบ้านผู้รับบริการ 1.3.5 โครงการพัฒนาวัสดุนาโนเคลือบผิวท่อ ลดการกัดกร่อน (เช่น วัสดุทางเลือก แทนท่อ AC ที่ใช้ Asbestos เป็นองค์ประกอบ) 1.3.6 โครงการวิจัยการเพิ่มประสิทธิภาพ และเสถียรภาพของระบบส่งจ่ายน้ำ 46
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การวิจัยพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพน้ำประปา กลยุทธ์ที่1.4 การสร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ตัวชี้วัด:ร้อยละความเชื่อมั่นต่อคุณภาพน้ำประปาในแต่ละเขตพื้นที่สูงขึ้น จำนวนโครงการที่ได้รับการสนับสนุนด้านการสร้างความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ จำนวนสิ่งตีพิมพ์ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์น้ำประปาดื่มได้ โครงการ 1.4.1 โครงการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 1.4.2 โครงการสร้างภาพลักษณ์ความเชื่อมั่นน้ำประปาดื่มได้ 1.4.3 โครงการเพิ่มขีดความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ 1.4.4 โครงการใช้ระบบ IT สื่อสารคุณภาพน้ำประปาดื่มได้ ตลอดเส้นท่อจนถึงมือผู้บริโภค 47
ยุทธศาสตร์ด้านวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมของการประปานครหลวง ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ เป้าประสงค์: สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียของ กปน. กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ • ตัวชี้วัด: • จำนวนกระบวนการทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน • จำนวนสิทธิบัตรทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน • ตัวชี้วัด: • จำนวนสิ่งตีพิมพ์การเพิ่มแรงดันน้ำใน DMAจำนวนนวัตกรรมการเพิ่มแรงดันน้ำในท่อบริการ • จำนวนโครงการการเพิ่มแรงดันที่ได้รับการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ เป้าประสงค์: สนับสนุนกิจกรรมลดน้ำสูญเสียของ กปน. กลยุทธ์ที่ 2.1 การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อลดน้ำสูญเสียอย่างครบวงจร ตัวชี้วัด: จำนวนกระบวนการทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน จำนวนสิทธิบัตรทางวิศวกรรมลดน้ำสูญเสียที่ได้รับการสนับสนุน โครงการ โครงการ 2.1.1 โครงการประยุกต์ใช้ระบบ IT เพื่อบูรณาการข้อมูลการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสียในระบบสูบส่งและจ่ายน้ำ 2.1.2 โครงการวิจัยพัฒนาวัสดุของระบบท่อต้านทานแรงดันน้ำ ลดการเกิดรอยรั่ว 2.1.3 โครงการวิจัยพัฒนาเพื่อลดระยะเวลา และปรับปรุงเทคนิคการซ่อมท่อ 2.1.4 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมการหารอยรั่วการเชื่อมและการซ่อมท่ออย่างครบวงจร 2.1.5 โครงการศึกษาปัจจัย และผลกระทบที่เกิดจากการใช้พื้นที่ที่เปลี่ยนไปในเขตเมืองต่อเสถียรภาพการจ่ายน้ำ 2.1.6 การศึกษาผลกระทบจากแผ่นดินไหว และการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดินที่มีผลต่อการทรุดตัวในระบบอุโมงค์การจ่ายน้ำของ กปน. 49
ยุทธศาสตร์ที่ 2 :การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ กลยุทธ์ที่ 2.2 การวิจัย พัฒนา และสร้างนวัตกรรมการจัดการแรงดันน้ำ ตัวชี้วัด: จำนวนสิ่งตีพิมพ์การเพิ่มแรงดันน้ำใน DMA จำนวนนวัตกรรมการเพิ่มแรงดันน้ำในท่อบริการ จำนวนโครงการการเพิ่มแรงดันที่ได้รับการสนับสนุน โครงการ โครงการ 2.2.1 โครงการ วิจัยและพัฒนา ระบบบริหารจัดการเพื่อเพิ่มแรงดันน้ำสูง 10 เมตร ใน DMA ต้นแบบ 2.2.2 โครงการพัฒนานวัตกรรมระบบสูบส่งแรงดันสูงในระบบจ่ายน้ำแบบประหยัดพลังงาน 2.2.3 โครงการพัฒนานวัตกรรมปรับเพิ่มลดแรงดันน้ำตามเวลาใช้น้ำใน DMA ต้นแบบ 50