350 likes | 562 Views
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 3-2/2557. วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย ถ่ายทอดผ่าน Video Conference . โดย .. กลุ่ม พัฒนาระบบบริหาร กรม อนามัย. 1. วาระที่ 1. วัตถุประสงค์การประชุม.
E N D
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 3-2/2557 วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย ถ่ายทอดผ่าน Video Conference โดย .. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 1
วาระที่ 1 วัตถุประสงค์การประชุม ติดตามผลการดำเนินงานตามมติที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 2-1/2557 เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2557 สรุปภาพรวมตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน • พิจารณาการดำเนินงาน • การรายงาน หลักฐานอ้างอิง • แนวทางการตรวจประเมิน • ความเหมาะสมของคณะกรรมการ คณะทำงาน 2
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการ กพร.กรมอนามัย ครั้งที่ 2-1/2557 เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2557 มติที่ประชุม ได้ส่งให้คณะกรรมการ เมื่อ 14 มกราคม 2557 รายงานการประชุม ได้ส่งให้คณะกรรมการ เมื่อ 23 มกราคม 2557 เอกสารประกอบการประชุม หมายเลข 2 และ 3
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (มอบ กองแผนงาน และกองกองคลัง) 1 ให้ดำเนินการจัดทำระบบการติดตามตรวจสอบและ มาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ • สื่อสารระบบและมาตรการฯ ให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ
2 การประหยัดพลังงาน (มอบ สำนักงานเลขานุการกรม) ให้สื่อสารให้หน่วยงานส่วนกลางที่จัดประชุม เป็นแกนหลักในการจัดรถรับส่งผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานต่างๆ 3 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (มอบ กองแผนงาน) ให้ทดสอบระบบป้องกันภาวะฉุกเฉินที่ศูนย์อนามัยที่ 1 เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินจากการชุมนุมทางการเมืองซึ่งจะเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2557 เป็นต้นไป
การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบ online (มอบ กพร. และ กอง จ.) 4 ให้ดำเนินการสำรวจข้อมูลเพื่อหาข้อเท็จจริง/ข้อมูลเกี่ยวกับผลการสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบ online สำหรับข้อคำถามที่มีค่า GAP สูงที่สุด 6 ข้อ เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ การดำเนินงานตามมติ 1. กพร. และ กอง จ. ได้ประชุมร่วมกัน เพื่อกำหนดประเด็นคำถามเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อการพัฒนาองค์กรกรมอนามัย 2. จัดเวทีให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นฯ ของข้าราชการ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทั่วไป กลุ่มวิชาการระดับผู้ปฏิบัติ และ กลุ่มวิชาการระดับหัวหน้ากลุ่มงาน ในวันที่ 24 ก.พ.2557
4 ประเด็นคำถาม • 1. สภาพแวดล้อมในการทำงาน • ปัจจัยที่ทำให้ทำงานอย่างมีความสุข • สิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุง/พัฒนา สภาพแวดล้อมในการทำงาน • 2. การเลื่อนระดับ และการโอน ย้าย • ความเชื่อมั่นต่อหลักเกณฑ์ วิธีการ และ ขั้นตอน การเลื่อนระดับ การโอน/ย้าย • สิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุงแก้ไข วิธีการ และ ขั้นตอนการเลื่อนระดับ และการโอน/ย้าย • 3. ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (กรม/หน่วยงาน) • ช่องทางการได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร • การเข้าถึงและการค้นหาข้อมูลข่าวสาร • สิ่งที่ต้องการให้มีการปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสารและวิธีการสื่อสาร • 4. ข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในการปฏิบัติงาน (กรม/หน่วยงาน) • ช่องทางการได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร • การเข้าถึงและการค้นหาข้อมูลข่าวสาร • สิ่งที่ต้องการให้มีการปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสารและวิธีการสื่อสาร • 5. การปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง • ปัญหาหรือผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน หรือการบรรลุภารกิจของหน่วยงานจาก การเปลี่ยนแปลง • ข้อเสนอแนะเพื่อให้บุคลากรของกรม อนามัยสามารถปรับตัวได้ไวต่อการ เปลี่ยนแปลง • 6. การพัฒนาองค์กร • บุคลากรกรมอนามัยมีความรักความผูกพัน และความต้องการอยู่กับกรมอนามัย • ปัจจัยที่ช่วยเสริมสร้างให้บุคลากรกรม อนามัยมีความรัก ความผูกพันต่อองค์กร • และพร้อมที่จะร่วมพัฒนางานให้บรรลุผลตาม เป้าหมาย
5 ข้อคิดเห็นต่อตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมอนามัยและการกระจายค่าเป้าหมาย (มอบ ศอ.1-12) ให้หน่วยงาน ส่งข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ต่อตัวชี้วัดและการกระจายค่าเป้าหมาย ให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร • หน่วยงานสามารถต่อรองค่าเป้าหมายได้ โดยมีข้อมูลเหตุผลประกอบ ผลการดำเนินงานตามมติ
สรุปข้อคิดเห็น • กำหนดเป้าหมายสูงเกินไป • การกำหนดค่าเป้าหมายควรพิจารณาจากข้อมูลผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความยากง่าย ความเป็นไปได้ ด้วย • ควรเน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ • ตัวชี้วัดบางเรื่อง ไม่ควรกำหนดเป็นตัวชี้วัด (HPHNQC) • โครงการ กพด. ไม่มีงบดำเนินงาน • จังหวัดที่มีกลไกการคุ้มครองสิทธิ ศอ.10มีเป้าหมายครบทุกจังหวัด
การกำหนดเจ้าภาพรับผิดชอบตัวชี้วัดการกำหนดเจ้าภาพรับผิดชอบตัวชี้วัด ตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย (8+3+21) (มอบ กองแผนงาน และ กพร.) 6 ให้วิเคราะห์ตัวชี้วัด และกำหนดเจ้าภาพรับผิดชอบในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1: การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย หน่วยงานสายส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1: การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย หน่วยงานสายอนามัยสิ่งแวดล้อม
งานตามยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย ที่เป็นตัวชี้วัดของหน่วยงาน 1.พัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย (10) 2.พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ (26) 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการ (8) เป้าหมายกระทรวง อัตราส่วนมารดาตาย พัฒนาการสมวัย เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน อัตราคลอดในมารดา 15-19ปี • 5. ANC คุณภาพ • 6. WCC คุณภาพ • 7. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ • 8. รพ.สต./ศสม.ที่ให้บริการ • สุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น โครงการพระราชดำริฯ 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. โรงพยาบาลสายใยรัก 3. ตำบลนมแม่ เด็กปฐมวัย และสตรี 4. ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง 5. พัฒนาการเด็กตามวัย 6. ฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน 7. ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 8. เด็กวัยเรียนสูงดี รูปร่างสมส่วน 9. โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา 10. YFHS 11. อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ 12. ตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น • วัยทำงาน • 13. คลินิก DPAC • 14. รพ.ส่งเสริมสุขภาพ • 15. องค์กรต้นแบบไร้พุง • ผู้สูงอายุและผู้พิการ • 16. พัฒนาทักษะกายใจ • 17. Long term Care • 18. โรคในช่องปากผู้สูงอายุ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 19. จัดการมูลฝอยติดเชื้อ 20. รพ.สธ. ได้มาตรฐาน ด้าน Env.H 21. ส้วมสาธารณะ HAS 22. ตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ 23. อปท. มีคุณภาพ ระบบบริการ Env.H • 24. จังหวัดที่มีกลไก • คุ้มครองสิทธิ • ด้าน Env.H เป้าหมายกรมอนามัย
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ 4 สรุปตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต
ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน อำนวยการ วิชาการ ศูนย์อนามัย
การวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 1 หน่วยงานสายอำนวยการ รายงานผลการตรวจสอบ ที่แสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ทุกหน่วยงานปฏิบัติงานสารบรรณถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกฯ ได้แก่ การรับ-ส่ง การจัดเก็บ การทำลายหนังสือราชการ ดำเนินการเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติราชการและเลื่อนเงินเดือนที่มีประสิทธิภาพ • รายงานการเงิน ที่ผู้บริหารใช้ประโยชน์ เพื่อวางแผน และบริหารจัดการ • ระบบสารสนเทศของกรมที่มีประสิทธิภาพ • สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดที่ 1: การสนับสนุนเขตสุขภาพของศูนย์อนามัยที่ 1-12 กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์
กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์
การวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 1 • การเสนอตัวชี้วัด มี 2 ลักษณะ • กระบวนการปฏิบัติงาน • ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ที่ได้ Best practice model กลไก ระบบข้อมูล กระบวนการทำงาน • กลไก ระบบงาน ระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนเขตสุขภาพ • แผนสนับสนุนเขตสุขภาพ • แผนยุทธศาสตร์สุขภาพเขตสุขภาพ • รายงานผลการดำเนินงาน/สนับสนุนเขตสุขภาพ • รายงานการติดตามประเมินผล • โครงการที่ศูนย์ผลักดันให้เกิดในพื้นที่ • รายงานสถานการณ์สุขภาพ • องค์ความรู้ นวัตกรรม สรุปบทเรียน • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เชิงวิชาการ ต่อการแก้ไข • ปัญหาระดับเขต • ผลการสำรวจความพึงพอใจ สถานการณ์สุขภาพ องค์ความรู้ นวัตกรรม บทเรียนตามพื้นที่ ข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย/วิชาการ
เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด มิติประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 2: ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 3: ดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน 1. มีการรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน 2.มีรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้พลังงาน 3. มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้จริงครบถ้วน 4. ผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ตัวชี้วัดที่ 4: ดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 1. จัดทำแผนปฏิบัติการการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และวินัย 2. ดำเนินการตามแผนได้แล้วเสร็จ และตัวชี้วัดในแผนมีผลสำเร็จตามเป้าหมายทุกตัวชี้วัด 3. รายงานผลตามแผนและการพัฒนาบุคลากรด้านการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมฯลฯ ครบทั้ง 3 งวดตามเวลาที่กำหนด 4. ตอบสนองต่อข้อร้องเรียน และส่งรายงานภายในเวลาที่กำหนด 5. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานในกิจกรรมเกี่ยวข้อง
เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด มิติพัฒนาองค์การ ตัวชี้วัดที่ 5การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 1.มอบหมายกลุ่มงาน/คณะทำงาน/บุคคลรับผิดชอบ 2. สื่อสารให้กับบุคลากรในหน่วยงานทราบ 3. ติดตามและรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานรอบ 9 12 เดือน 4. สรุปบทเรียน ประกอบด้วย ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อไป ตัวชี้วัดที่ 6 ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้า/บริการ และ C/SH 1. การจัดทำฐานข้อมูลสินค้า/บริการ C/SH ของหน่วยงาน 2. การจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) งานภารกิจหลัก 3. การสร้างการมีส่วนร่วมและกิจกรรมสัมพันธ์กับ (C/SH) ของหน่วยงาน 4. การประเมินความพึงพอใจ การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และคำชมเชยของ C/SH ตัวชี้วัดที่ 7การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 1. รายงานแผน/ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 2 ภายใน 5 เม.ย. 57 2. รายงานแผน/ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 3 ภายใน 5 ก.ค. 57 3. รายงานแผน/ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 4 ภายใน 5 ต.ค. 57 4. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดกรมอนามัย รอบ 6 9 12 เดือน ภายใน 10 เม.ย. 10 ก.ค. 10 ต.ค.57
ตัวชี้วัดที่ 8 การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 1. การจัดทำแผนพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะรายบุคคล (IDP) 2. ข้าราชการได้รับการพัฒนาตามแผน 3. ข้าราชการได้รับการพัฒนา อย่างน้อย 10 วันต่อคนต่อปี 4. ส่งรายงาน แผนและผลพัฒนา ตรงตามเวลาที่กำหนด ตัวชี้วัดที่ 9 การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า ได้แก่ 1. การศึกษาวิจัย 2. การพัฒนามาตรฐาน/เกณฑ์/คู่มือ/ หลักสูตร 3. การสร้างกระแสและรณรงค์ เผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยี 4. การสร้างการมีส่วนร่วมภาคี เครือข่าย 5. การรับรองมาตรฐานการบริการ 6. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) 7. การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ
เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ 5
วาระ 5.1 ช่องทาง/เวลาส่งรายงาน SAR ตามคำรับรองฯ • 31 มี.ค. • 30 มิ.ย. • 30 ก.ย. การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน ระบบ DOC กรมอนามัย ระบบ GFMIS 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน ระบบ e-report.energy 4. การป้องกัน/ปราบปรามการทุจริต • 25 มี.ค. • 25 มิ.ย. • 25 ก.ย. e-mail และหนังสือ ส่งกองการเจ้าหน้าที่ 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล เรื่องร้องเรียนจริยธรรม ขรก. • ภายใน10วัน 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความพึงพอใจ/เรื่องร้องเรียน e-mail /หนังสือส่ง สลก. • วันที่ 25 • ทุกเดือน 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย e-mailและหนังสือ ส่งกองการเจ้าหน้าที่ • 3 มี.ค. • 9 เม.ย. • 2 ก.ค. • 2 ต.ค. 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า 30
วาระ 5.2 การตรวจประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย หน่วยงานเจ้าภาพ ประเมินผลจากรายงาน ประเมินตนเอง (SAR) และหลักฐานที่ส่ง ตามระบบรายงาน การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต 31
การตรวจประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯการตรวจประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (30หน่วยงาน) วิธีการ ทีมเลขานุการจาก กพร.รวบรวม ตรวจสอบหลักฐานอ้างอิง ส่งให้กรรมการ กพร.จัดเวทีนำเสนอผลงานตามตัวชี้วัด ให้หน่วยงานนำเสนอ 15-20 นาที กรรมการพิจารณาให้คะแนน ระยะเวลา 2 วัน เดือนตุลาคม 2557 คณะกรรมการประเมินผล ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน คณะกรรมการ 10 คน :- รองอธิบดี (นพ.สุธา) ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ผู้แทนสำนักวิชาการ 5 คน ผู้แทนกองแผนงาน 1 คน ทีมเลขานุการ จาก กพร. • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • หน่วยงานเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • เห็นภาพการพัฒนาระบบราชการร่วมกัน • สามารถนำไปกำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสมและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในปีต่อไป 32
วาระ 5.3 (ร่าง) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย (เอกสารหมายเลข 4 ) แก้ไขตำแหน่งในคำสั่ง 1. นายพิษณุ แสนประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติหน้าที่รองอธิบดีกรมอนามัย ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. แพทย์หญิงแสงโสม สีนะวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักที่ปรึกษา นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ (ด้านโภชนาการ) เพิ่มกรรมการ 1. นางปริยะดา โชควิญญู นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติราชการแทน ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. ผู้อำนวยการสำนักสร้างและจัดการความรู้
วาระ 5.3 คำสั่งกรมอนามัย ที่ ..../2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • (เอกสารหมายเลข 5 ) คณทำงานประสานและสนับสนุน การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ คณทำงาน PMQA หมวด 2-6 • บทบาทหน้าที่ • บทบาทหน้าที่ • 1. ทบทวนผลการดำเนินงาน เทียบกับเกณฑ์ • 2. ทำแผนพัฒนาองค์การ และกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ • 3. กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผลระดับหน่วยงาน • 4. ขับเคลื่อนการดำเนินงาน • 5. จัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 1.กำหนดแผนสนับสนุนตามนโยบายคณะกรรมการ กพร.กรมอนามัย 2. ประสานการดำเนินงานระหว่างหมวด 3. สื่อสารนโยบาย ถ่ายทอดองค์ความรู้ 4. ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงาน
วาระที่ 6 เรื่องอื่นๆ