500 likes | 765 Views
เมื่อต้องเป็นนักบัญชี 2000. โดย ดร. วรศักดิ์ ทุมมานนท์. พฤษภาคม 2546. ข้อมูลนี้ได้จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง – ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีของกลุ่มบริษัทต่อไปนี้ เมื่อต้นปี 2546 “ บัณฑิตบัญชีในอุดมคติที่ต้องการรับเข้าทำงาน ควรมีความรู้ด้านใดบ้าง ” - ธนาคารพาณิชย์ - กลุ่มบันเทิง
E N D
เมื่อต้องเป็นนักบัญชี 2000 โดย ดร. วรศักดิ์ ทุมมานนท์ พฤษภาคม 2546
ข้อมูลนี้ได้จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง – ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีของกลุ่มบริษัทต่อไปนี้ เมื่อต้นปี 2546 “บัณฑิตบัญชีในอุดมคติที่ต้องการรับเข้าทำงาน ควรมีความรู้ด้านใดบ้าง” - ธนาคารพาณิชย์ - กลุ่มบันเทิง - กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต - กลุ่มสื่อสาร - กลุ่มพลังงาน
นักบัญชีไม่เพียงแต่เป็นนักบัญชี แต่ต้องก้าวทันกับศาสตร์ด้านอื่น ๆ ……….. • FINANCE • ECONOMICS • TAX • STRATEGIC PLANNING & KPI • CUSTOMER RELATIONSHIP • PRESENTATION TECHNIQUES
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • ติดตามมาตรฐานการบัญชีใหม่ ๆ และจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป • บันทึกข้อมูลทางบัญชีอย่างถูกต้องและทันต่อเวลา • จัดทำบัญชี ให้สอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหารองค์กร • รายละเอียดการบันทึกข้อมูลทางบัญชี ต้องมีหลักฐานและรายละเอียดของทุกรายการสามารถตรวจสอบได้
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • มีความรอบรู้ทางด้านการบริหารการเงินและสามารถให้ข้อมูลด้านกระแสเงินสด (Cash Flow) 1. รักษาสภาพคล่องด้านกระแสเงินสด 2. บริหารต้นทุนของแหล่งเงิน (Cost of Fund) 3. บริหารสัดส่วนของสินทรัพย์ หนี้สิน และทุน 4. ควบคุมระยะเวลาของการเรียกเก็บหนี้ และจ่ายชำระหนี้ 5. ควบคุมดูแลโครงการการลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • ให้ข้อมูลในการตัดสินใจในการลงทุนและหาแหล่งเงินทุน • ระยะเวลาการลงทุน • ขนาดของเงินทุน และโครงสร้างการลงทุน • ความเสี่ยงของโครงการ • ความเสี่ยงของแหล่งเงินทุน อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน • ผลตอบแทนจากการลงทุน กำไร • ความสามารถในการชำระหนี้คืนตามกำหนด
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • ควบคุมดูแลค่าใช้จ่ายตามงบประมาณ 1. จัดทำคู่มือระเบียบปฏิบัติการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2. วางระบบควบคุมการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 3. วางแผนการปรับปรุงงบประมาณให้มีความยืดหยุ่น สอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนแผนงานขององค์กร
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • เป็นศูนย์กลางประสานการจัดทำงบประมาณและKPI ประจำปี 1. รวบรวมข้อมูลประมาณการรายได้และรายจ่าย ตลอดจน KPI ของฝ่ายงานต่าง ๆ 2. ปรับปรุงงบประมาณ ให้สอดคล้องกับ KPI และเหมาะสมกับแผนงานขององค์กร 3. สื่อสารทำความเข้าใจกับฝ่ายงานต่าง ๆ ให้เข้าใจถึงการปรับปรุงงบประมาณ 4. สรุปและจัดทำงบประมาณประจำปี
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • บทบาทด้านการวางแผนภาษีอากร • ติดตามกฎเกณฑ์ทางด้านภาษีอากรใหม่ ๆ • กำหนดนโยบายการบัญชเพื่อให้ประหยัดภาษี • ดูแลการชำระภาษีต่าง ๆ ให้ถูกต้องและตามกำหนด • ติดตามการรับคืนภาษี (ถ้ามี) • จัดเก็บเอกสารหลักฐานเพื่อสามารถตรวจสอบด้านภาษีได้
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • บทบาทด้านการบริหารทั่วไป • เป็นแหล่งข้อมูลและที่ปรึกษาทางการเงินให้กับทุกฝ่ายงาน • ทำหน้าที่ส่งสัญญาณทั้งด้านบวกและลบ • เป็นที่ปรึกษาด้านการลงทุนในโครงการต่าง ๆ
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • บทบาทด้านการบริหารระบบข้อมูล • ประสานงานกับฝ่ายสารสนเทศ ในการออกแบบ Software ด้านบัญชี ฐานข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ • ออกแบบและจัดทำรายงานข้อมูลทางบัญชีเพื่อการบริหาร สำหรับแต่ละระดับให้เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และตามกำหนดเวลา
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • ให้ข้อมูลด้านบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารองค์กร • ข้อมูลทางบัญชี แสดงฐานะทางการเงินและผลประกอบการขององค์กร • งบดุล • งบกำไรขาดทุน • งบกระแสเงินสด
ในสายตาของผู้บริหารองค์กร นักบัญชีมีหน้าที่………... • ข้อมูลวิเคราะห์และเปรียบเทียบ • อัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratios) • การวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend) • การวิเคราะห์โครงสร้างทางการเงิน (Financial Structure) • การเปรียบเทียบงบการเงินของแต่ละปี • รายงานงบการเงินเปรียบเทียบกับงบประมาณ
อัตราส่วนทางการเงิน • วิเคราะห์อัตราผลตอบแทน (ROA) • วิเคราะห์อัตราผลตอบแทนกับความเสี่ยงที่แฝงอยู่ในต้นทุนเงินทุน • วิเคราะห์มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ (EVA) • แตก ROA เป็นองค์ประกอบย่อยในลักษณะ Top Down Analysis
อัตราส่วนทางการเงิน • เชื่อมโยงองค์ประกอบย่อยของ ROA เข้ากับการวิเคราะห์สภาพคล่อง • สรุปผลการวิเคราะห์
อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ROA = NOPAT สินทรัพย์สุทธิรวม (เฉลี่ย) • NOPAT เป็นตัวเดียวกับ Operating Income หรือไม่ • ถ้าไม่ใช่ตัวเดียวกัน NOPAT คำนวณอย่างไร • ยอดสินทรัพย์สุทธิคำนวณยังไง • ยอดสินทรัพย์สุทธิควรรวมงานระหว่างการก่อสร้างด้วยหรือไม่
อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) • Benchmark ของ ROA คืออะไร • มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ (Economic Value Added) จะเกิดขึ้นเมื่อไร
WACC กับโครงสร้างเงินทุน • โครงสร้างเงินทุนกับต้นทุนเงินทุน (WACC) • โครงสร้างเงินทุนกับความเสี่ยงต่อการชำระหนี้ • Debt to Equity (D/E Ratio) = หนี้สินรวม/ส่วนของเจ้าของ • เงินกู้กรรมการเป็นหนี้สินหรือส่วนของเจ้าของ • Non-Interest Bearing Debts ต้องนำมาพิจารณาด้วยหรือไม่
การแตกอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) เป็นองค์ประกอบย่อย ROA = NOPAT สินทรัพย์รวม = NOPAT* ค่าขาย ค่าขาย สินทรัพย์รวม = ROS * Asset Turnover
อัตราผลตอบแทนต่อค่าขาย (ROS) • ROS = NOPAT ค่าขาย • ควรจัดทำ Common-sized P/L เปรียบเทียบโดยแปลงรายการทุกรายการที่รวมอยู่ในการคำนวณ NOPAT ให้เป็นร้อยละของรายได้ เพื่อระบุสาเหตุที่ทำให้ ROS เปลี่ยนแปลงไป
อัตราผลตอบแทนต่อค่าขาย (ROS) • แปลงทุกรายการเป็นร้อยละของรายได้ หมายถึง แปลงทุกรายการเป็นร้อยละของรายได้จากการขายหรือรายได้รวม • หากกิจการมีทั้งรายได้จากการขายสินค้าและรายได้จากการให้บริการควรให้ยอดใดเป็น 100% หรือทั้งสองยอดรวมกัน • ปัญหาของ Common Sized P/L คืออะไร
อัตราผลตอบแทนต่อค่าขาย (ROS) 254325442545 ค่าขาย 100% 100% 100% รายได้อื่น 2% 3% 6% ต้นทุนขาย 40% 41% 38% ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร 38% 35% 37% ภาษีเงินได้ 5% 7% 8% Tax shield 1% 3% 4%
ความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย • Interest Coverage = NOPAT/ดอกเบี้ยจ่าย (สุทธิจากภาษี)
การแตกอัตราส่วน Asset Turnover Asset Turnover = ค่าขาย สินทรัพย์รวม Asset Turnoverอาจแตกออกได้เป็น: ค่าขาย/สินค้าคงเหลือ = Inventory Turnover ค่าขาย/ลูกหนี้การค้า = Accounts Receivable Turnover ค่าขาย/สินทรัพย์ถาวร = Fixed Asset Turnover
อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover) Inventory (Finished Goods) Turnover = ค่าขาย/สินค้าคงเหลือ (สมเหตุผลหรือไม่?) = ต้นทุนขาย/สินค้าคงเหลือ (ดีกว่าไหม ?) • สินค้าคงเหลือควรใช้ยอดก่อนหรือหลังหักค่าเผื่อสินค้าเสื่อมสภาพหรือล้าสมัยหรือไม่ • นโยบายการตีราคาสินค้าคงเหลือ (FIFO, LIFO, Average) มีผลต่ออัตราการหมุนเวียนของสินค้า
อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง(Inventory Turnover) ในกรณีธุรกิจผลิต Raw Material Turnover = ต้นทุนวัตถุดิบใช้ไป/วัตถุดิบคงเหลือ Work in Process Turnover = ต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ/งานระหว่างทำ Finished Goods Turnover = ค่าขาย/สินค้าสำเร็จรูป
อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้การค้า (Accounts Receivable Turnover) Accounts Receivable Turnover = ค่าขาย/ลูกหนี้การค้า • ค่าขายควรใช้ยอดขายเชื่อหรือขายรวม • ลูกหนี้การค้าควรใช้ยอดก่อนหรือหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (FixedAsset Turnover) • Fixed Asset Turnover = ค่าขาย/สินทรัพย์ถาวร • ต้องวิเคราะห์อัตราส่วนนี้เสมอไปหรือไม่ • สินทรัพย์ถาวรรวมถึงสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เช่น สิทธิการเช่า สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ ด้วยหรือไม่
อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (FixedAsset Turnover) • นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการตัดค่าเสื่อมราคาหรือการตัดจำหน่ายสินทรัพย์มีผลกระทบต่ออัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร • หากมีการตั้งค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ควรปรับยอดสินทรัพย์ถาวรให้เป็นยอดก่อนหักค่าเผื่อการด้อยค่าหรือไม่
สภาพคล่องทางการเงิน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) = สินทรัพย์สภาพคล่องสูง หนี้สินหมุนเวียน
สภาพคล่องทางการเงิน • ข้อจำกัดของอัตราส่วนทั้งสองคือความเป็น Static figures • ได้แต่บอกสภาพคล่องโดยรวมแต่ไม่ทราบสาเหตุที่ทำให้กิจการมีสภาพคล่องสูง/ต่ำ • จำเป็นหรือไม่ที่จะต้องคำนวณทั้ง Current และ Quick Ratios
สภาพคล่องทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่องควรวิเคราะห์ร่วมกันไปกับ (1) ROS (2) ระยะเวลาการถือครองสินค้าคงเหลือ (3) ระยะเวลาการให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ (4) ระยะเวลาที่ได้รับสินเชื่อจาก Supplier
ระยะเวลาการถือครองวัตถุดิบระยะเวลาการถือครองวัตถุดิบ ระยะเวลาการถือครองวัตถุดิบ = 30 หรือ 90 หรือ 180 หรือ 360 วัน Raw Material Turnover
ระยะเวลาการแปรสภาพ ระยะเวลาการแปรสภาพ = 30 หรือ 90 หรือ 180 หรือ 360 วัน W/P Turnover
ระยะเวลาการถือครองสินค้าสำเร็จรูประยะเวลาการถือครองสินค้าสำเร็จรูป ระยะเวลาการถือครองสินค้าสำเร็จรูป = 30 หรือ 90 หรือ 180 หรือ 360 วัน F/G Turnover
ระยะเวลาการให้สินเชื่อระยะเวลาการให้สินเชื่อ ระยะเวลาการให้สินเชื่อ = 30 หรือ 90 หรือ 180 หรือ 360 วัน A/R Turnover
อัตราการหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้า(Accounts Payable Turnover) อัตราการหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้า = ซื้อ (เชื่อ) /เจ้าหนี้การค้า ระยะเวลาที่ได้รับสินเชื่อ = 30 หรือ 90 หรือ 180 หรือ 360 วัน A/P Turnover
วงจรเงินสด (Cash Cycle) หมายถึง ระยะเวลาในการหมุนเวียนของเงินสดของกิจการจากระยะเวลาที่จ่ายเงินสดไปจนกว่าจะได้รับเงินสด เป็นการบอกถึงจำนวนวันที่กิจการต้องรอเพื่อจะได้รับเงินสดที่จ่ายลงทุนไปหมุนเวียนกลับมา ซึ่งก็คือ จำนวนเงินสดที่กิจการต้องลงทุนในลูกหนี้และสินค้าคงคลัง
การใช้ข้อมูลด้านบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารองค์กรการใช้ข้อมูลด้านบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารองค์กร • ข้อมูลภายนอกที่เกี่ยวข้อง • อัตราดอกเบี้ย / ค่าธรรมเนียม • อัตราส่วนลดเงินสดรับ / จ่าย • อัตราเงินเฟ้อ • อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ • การเปลี่ยนแปลงด้านภาษีอากร • เครื่องมือธุรกรรมทางการเงินใหม่ ๆ • ฯลฯ
การใช้ข้อมูลด้านบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารองค์กรการใช้ข้อมูลด้านบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารองค์กร • ข้อมูลรายงานความผิดปกติ • รายงานหนี้มีปัญหา และหนี้สูญ • รายงานลูกค้าใหม่ และลูกค้าที่สูญเสียไป • รายงานความเสียหายที่เกิดต่อทรัพย์สิน • รายงานค่าใช้จ่ายที่สูงผิดปกติ • รายงานต้นทุนของวัตถุดิบ หรือสินค้าที่สูงผิดปกติ • รายงานสินค้าที่ค้างสต็อกนานผิดปกติ • รายงานระยะเวลาการเรียกเก็บหนี้ที่ค้างนานกว่าที่เคยเป็น
การใช้ข้อมูลด้านบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารองค์กรการใช้ข้อมูลด้านบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจของผู้บริหารองค์กร • ข้อมูลวัดประสิทธิภาพภายในองค์กร • รายงานยอดขายต่อพนักงานขาย • รายงานผลกำไรต่อจำนวนพนักงาน • รายงานผลงานของฝ่ายงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมาย • รายงานเปรียบเทียบกำไร และต้นทุนต่อหน่วย
นักบริหารด้านบัญชีจะช่วยฝ่ายบริหารได้อย่างไรนักบริหารด้านบัญชีจะช่วยฝ่ายบริหารได้อย่างไร • นำเสนอข้อมูลในเชิงวิเคราะห์ เกี่ยวกับสถานการณ์ด้านบัญชีการเงินขององค์กร แก่ฝ่ายบริหาร • ให้คำปรึกษา การจัดหาทุน การการลงทุน การประมาณการ และจัดทำงบประมาณ • ออกแบบจัดทำรายงานต่าง ๆ อย่างเหมาะสม • แจ้งสัญญาณเตือนภัยถึงสิ่งผิดปกติแก่ฝ่ายบริหาร
วิธีการจัดระบบและปรับปรุงข้อมูลทางบัญชี เพื่อประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารใช้วางแผนและตัดสินใจ • ศึกษาความต้องการด้านข้อมูลของฝ่ายบริหาร • ความรู้พื้นฐานด้านบัญชีการเงินของฝ่ายบริหาร • รายงานแบบตัวเลข วิเคราะห์ รูปภาพ หรือแบบบรรยาย • รายงานแบบละเอียด หรือแบบสรุป • ระยะเวลาของการนำเสนอ ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน • รายงานผ่านระบบ Online, Presentation หรือแบบ Paper • รายงานแบบ Private หรือ Committee • เน้นความสนใจเฉพาะด้าน เช่น ยอดขาย กำไร การเรียกเก็บหนี้
วิธีการจัดระบบและปรับปรุงข้อมูลทางบัญชี เพื่อประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารใช้วางแผนและตัดสินใจ • จัดระบบสาระสนเทศ (MIS) • วางระบบฐานข้อมูลให้สัมพันธ์กับระบบบัญชี • ออกแบบระบบคลังข้อมูล ให้เพียงพอที่จะสนับสนุนความต้องการในปัจจุบันและอนาคต • วางแผนการใช้ระบบ Computer Online ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งด้าน Hardware, Software และ Peopleware • จัดทำคู่มือการใช้งานระบบ MIS พร้อมแนะนำอบรมวิธีการใช้งานแก่ฝ่ายบริหารที่เกี่ยวข้อง
วิธีการจัดระบบและปรับปรุงข้อมูลทางบัญชี เพื่อประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารใช้วางแผนและตัดสินใจ • ออกแบบจัดทำระบบรายงาน • สั้น ๆ กระชับ และทำความเข้าใจได้ง่าย • เน้นเนื้อหาที่ตรงกับความต้องการของฝ่ายบริหาร • ข้อสังเกตเกี่ยวกับความผิดปกติ • รูปแบบรายงาน กราฟ สัดส่วน อัตราส่วน เปรียบเทียบ • รายงานทั่วไป รายงานเฉพาะเรื่อง • รายงานผ่านระบบ Online, Paper หรือ Presentation
และที่นักบัญชีขาดไม่ได้คือ………ชักนำให้ผู้บริหารทำในสิ่งที่ถูกต้อง“ธรรมาภิบาลและการสร้างมูลค่าเพิ่มกลับไปยังผู้ถือหุ้น”และที่นักบัญชีขาดไม่ได้คือ………ชักนำให้ผู้บริหารทำในสิ่งที่ถูกต้อง“ธรรมาภิบาลและการสร้างมูลค่าเพิ่มกลับไปยังผู้ถือหุ้น”