170 likes | 439 Views
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service plan ) สาขาสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557. อัตรากำลัง ทันต บุคลากรจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557. สัดส่วนยู นิต ทันตก รรม. ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557. 1. โรคฟันผุในเด็กเล็ก และเด็กวัยเรียน 2. การบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ
E N D
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service plan )สาขาสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557
อัตรากำลังทันตบุคลากรจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557 สัดส่วนยูนิตทันตกรรม
ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนจังหวัดกำแพงเพชร ปี 2557 1.โรคฟันผุในเด็กเล็ก และเด็กวัยเรียน 2.การบดเคี้ยวในกลุ่มผู้สูงอายุ 3.การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
กลุ่มเด็กปฐมวัย(อายุ 3ปี) เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 57(ผลการสำรวจรายCUP จังหวัดกำแพงเพชรปี 2556) ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1 อนามัยช่องปากไม่สะอาด 2. มีพฤติกรรมการดื่มนมหวาน ดูดนมหลับคาปาก 3. ไม่ได้แปรงฟัน แปรงไม่สะอาด 4.รับประทานรสหวาน ขนมกรุบกรอบเกินวันละ 2 ครั้ง 4
กลุ่มเด็กวัยเรียน(อายุ 12 ปี /นร. ป.6) เกิดโรคฟันผุในฟันถาวรไม่เกินร้อยละ 55(ผลการสำรวจราย CUP จังหวัดกำแพงเพชรปี 2556 ) ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1 อนามัยช่องปากไม่สะอาด 2. มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารรสหวาน ดื่มน้ำอัดลม รับประทานขนมกรุบกรอบเกินวันละ 2 ครั้ง 5
ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้อย่างเหมาะสมมีฟันหลัง 4 คู่สบขึ้นไปร้อยละ 52 (ผลการสำรวจรายCUP จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2556) ปัจจัยเสี่ยงสาเหตุ 1 วัยทำงานและผู้สูงอายุเป็นโรคแล้วไม่ได้รับการรักษา 2. เข้าไม่ถึงบริการ แพง เสียเวลาทำงาน ไม่มีคนพาไป 3. สูญเสียฟันยังไม่ได้ใส่ฟันเทียม
เป้าหมาย Oral Health Service Plan ปี 2557 • ลดอัตราป่วย • เด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 55 • เด็กอายุ 12 ปี มีฟันแท้ผุ ไม่เกิน ร้อยละ 45 • ผู้สูงอายุมีฟันใช้บดเคี้ยวฟันหลัง 4 คู่สบ ร้อยละ 52 • ลดระยะเวลารอคอย • ประชาชน รอคิวทำฟันเทียมและงานบริการทันตกรรมอื่นๆ ไม่เกิน 3 เดือน • เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก • อัตราการใช้บริการทันตกรรมทุกสิทธิ์ต่อ 1000 ประชากรเป็น 2 เท่าของปี 2555 ในปี 2560 (500 ครั้ง ต่อ 1000 ประชากร) • จัดบริการทันตกรรมใน รพ.สต. ร้อยละ 45
กระบวนการแก้ปัญหาโรคในช่องปากปี 2557 งบประมาณ ปี 2557 11,500,651.96 บาท
แผนการดำเนินงาน ปี 2557 ลดอัตราป่วย เด็กปฐมวัยอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุไม่เกินร้อยละ 55 • หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจและบันทึกสุขภาพช่องปาก/ฝึกทักษะ • หญิงตั้งครรภ์ได้รับการรักษาแบบผสมผสาน • เด็กอายุต่ำกว่า 3ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก • พ่อแม่ผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกแปรงฟันให้ลูก • เด็กอายุต่ำกว่า3ปีที่มีความเสี่ยงฟันผุ ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิชเพื่อป้องกันฟันผุ • เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ผปค.และผดด.ได้รับการให้ทันตสุขศึกษา • พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
แผนการดำเนินงาน ปี 2557 ลดอัตราป่วย โรคฟันผุในเด็กวัยเรียน เด็กอายุ 12 ปี มีฟันแท้ผุ ไม่เกินร้อยละ 45 • เด็กนักเรียนป.1 ได้รับการตรวจและบันทึกสุขภาพช่องปาก • เด็กนักเรียนป.1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน • เด็กนักเรียนป.1 ได้รับการรักษา Comprehensive care • พัฒนา/ขยาย กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี สูงอายุมีฟันใช้งานได้อย่างเหมาะสมมีฟันหลัง 4 คู่สบขึ้นไป ร้อยละ 52 • การตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ การขูดหินปูน • การทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุบริเวณรากฟัน • การจัดบริการใส่ฟันเทียม • การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ
แผนการดำเนินงาน ปี 2557 4. เพิ่มการเข้าถึงบริการทุกกลุ่มวัย - เพิ่มการเข้าถึงบริการทันตกรรม2 เท่า (500 ครั้ง:1000 ประชากร) - จัดบริการสุขภาพช่องปากคุณภาพครอบคลุม รพ.สต. และ ศสม. ร้อยละ 45 (อยู่ประจำและหมุนเวียน อย่างน้อย 1 วัน/สัปดาห์) • วางแผนพื้นที่ออกให้บริการ กำลังคน และครุภัณฑ์(ยูนิตทำฟัน) • เพิ่มสัดส่วนทันตาภิบาลใน รพ.สต.(โครงการเร่งผลิต) • เพิ่มการหมุนเวียนทันตบุคลากร ไปให้บริการทันตกรรมในรพ.สต.
การดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการการดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการ • ปฐมภูมิ • จัดบริการทันตกรรมรักษาขั้นพื้นฐาน และส่งเสริมป้องกันตามกลุ่มวัย • เพิ่มจำนวน รพ.สต.ให้บริการทันตกรรม • พัฒนา การส่งต่อการรักษาทางทันตกรรม • พัฒนาระบบสารสนเทศ เชื่อมระบบข้อมูล รพ.สต.รพช./ รพท. และ สสจ. • ประสานความร่วมมือชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดระบบบริการทันตกรรม
การดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการการดำเนินงานตามระดับหน่วยบริการ • ทุติยภูมิ • จัดบริการทันตกรรม ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู • จัดบริการทันตกรรมหมุนเวียนไปเพิ่มจุดบริการทันตกรรมที่ รพ.สต. • พัฒนาศักยภาพทันตาภิบาลใหม่ในพื้นที่ • พัฒนาระบบสารสนเทศ บุคลากร การนำเข้าข้อมูล และการเชื่อมโยงข้อมูล • ตติยภูมิ • จัดบริการทันตกรรมเฉพาะทาง และมีแผนจัดตั้งศูนย์ทันตกรรมเชี่ยวชาญศัลยศาสตร์ช่องปาก • พัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ ให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และทพ.จบใหม่ • ปรับปรุง พัฒนาระบบส่งต่อภายในเครือข่าย (Node) • พัฒนาระบบสารสนเทศ
ปัญหาและอุปสรรค • ด้านกำลังคน ความไม่เพียงพอของทันตบุคลากร โดยเฉพาะทันตาภิบาล และผู้ช่วยทันตแพทย์ เนื่องจากผลิตน้อยและขาดความก้าวหน้าในวิชาชีพ • ด้านครุภัณฑ์ : เช่น ยูนิตทันตกรรมยังไม่เพียงพอต่อการขยายบริการทันตกรรมในรพ.สต. และที่มีอยู่ไม่สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพเนื่องจากเกิดการชำรุดไม่ได้รับการซ่อมแซมหรือจัดสรรใหม่ • ด้านข้อมูลสารสนเทศ ระบบการจัดเก็บข้อมูล และการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างระดับ รพ.สต.รพช./รพท. และสสจ.
แนวทางแก้ไข/พัฒนา ปี 2557 • ได้รับจัดสรรทันตาภิบาลเพิ่ม 17 คน จาก โครงการเร่งผลิตทันตาภิบาล โดยการร่วมผลิตระหว่างหน่วยบริการในพื้นที่และวิทยาลัยสาธารณสุขสิรินทร • จัดทำแผนความต้องการกำลังคน/ยูนิตทันตกรรมและเสนอต่อผู้บริหาร • ระบบสารสนเทศ แต่งตั้งคณะกรรมการด้านสารสนเทศงานทันตสาธารณสุข เพื่อบริหารจัดการระบบข้อมูลต่างๆทางทันตฯและเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ MIS ของจังหวัด