680 likes | 874 Views
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 2-1/2557. วันพุธที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุมสมบูรณ์ วัช โรทัย กรมอนามัย ถ่ายทอดผ่าน Video Conference. โดย .. กลุ่ม พัฒนาระบบบริหาร กรม อนามัย. 1. วาระที่ 1. วัตถุประสงค์การประชุม. ติดตามผลการดำเนินงาน
E N D
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 2-1/2557 วันพุธที่ 8 มกราคม 2557 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุมสมบูรณ์ วัชโรทัย กรมอนามัย ถ่ายทอดผ่าน Video Conference โดย .. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 1
วาระที่ 1 วัตถุประสงค์การประชุม ติดตามผลการดำเนินงาน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 พิจารณาการกำหนดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 2
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม คกก.กพร.กรมอนามัย ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 26 พ.ย.2556 เรื่องเพื่อทราบ 1.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 1.2 การจัดสรรเงินรางวัล ตามคำรับรองฯ ปี 2555 1.3 ผลการประเมินตนเองตามคำรับรองฯ ปี 2556 1.4 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ปี 2557 2.เรื่องเพื่อพิจารณา 2.1 การกำหนดตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมอนามัย ตามคำรับรองฯ ปี 2557 2.2 การกำหนดตัวชี้วัดมิติคุณภาพ ประสิทธิภาพ และการพัฒนา องค์การ ตามคำรับรองฯ ปี 2557 2.3 กลไกการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 2.4 การลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2557 ระหว่าง หน่วยงานกับกรมอนามัย
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมที่จะลงนามกับกระทรวง (มอบ กพร.) กรมคัดเลือก 4 ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 2. ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 3. ร้อยละของมูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการอย่างถูก สุขลักษณะ (ร้อยละ 80) 4. ร้อยละของส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS (ร้อยละ 80)
การเบิกจ่ายงบประมาณ (มอบกองแผนงาน / กองคลัง) • จัดทำระบบการติดตามตรวจสอบและมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและสื่อสารให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ การประหยัดพลังงาน (มอบ สลก.) กำหนดรูปแบบการใช้รถยนต์ราชการแบบ car pool ใน การไปร่วมประชุมสัมมนา เพื่อเสนอผู้บริหาร และสื่อสาร สร้างความเข้าใจให้กับหัวหน้าหน่วยงาน/บุคลากร จัดรณรงค์สร้างจิตสำนึกเรื่องการประหยัดพลังงาน
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (มอบกองแผนงาน) • ทบทวนระบบที่ดำเนินการอยู่และปรับปรุงให้เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบ online • สื่อสารสร้างความเข้าใจข้อคำถามตามแบบสำรวจให้กับ ข้าราชการกรมอนามัย • จัดทำเอกสารสรุปผลการสำรวจเสนอผู้บริหารกรมอนามัย และจัดการประชุมระดมสมองเพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การ • ดำเนินการสำรวจข้อมูลเพื่อหาข้อเท็จจริง/ข้อมูลเกี่ยวกับข้อ คำถามในแบบสำรวจที่มีค่า GAP สูงที่สุด 6 ข้อ (ผลการ สำรวจเมื่อ 16-30 ก.ย.56) ให้แล้วเสร็จภายใน 1 เดือน • เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ กพร. กอง จ.
วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา การกำหนดตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การประเมินคุณภาพ ไม่กำหนดเป็นตัวชี้วัดหน่วยงาน มิติภายนอก มิติภายใน การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. ตัวชี้วัดหมวด 2 6. ตัวชี้วัดหมวด 3 7. ตัวชี้วัดหมวด 4 8. ตัวชี้วัดหมวด 5 9. ตัวชี้วัดหมวด 6 8
ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลักของหน่วยงานตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน =หน่วยงานใหม่ รวม 33 หน่วยงาน (ไม่มีสำนักที่ปรึกษา)
ศูนย์อนามัยที่ 1-12 2 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนเขตสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน รูปแบบที่ 1 ประเมิน Process
ชื่อตัวชี้วัด 1 :ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนเขตสุขภาพ เกณฑ์การให้คะแนน รูปแบบที่ 2 ประเมินระดับ output/outcome หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • ศูนย์อนามัยสำรวจความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย • ตัวชี้วัดย่อยที่ 2 และ 3 เก็บข้อมูลจากการปฏิบัติงานของศูนย์อนามัย และ Evidence
ชื่อตัวชี้วัด 2 :ระดับความสำเร็จของการดำเนินการสื่อสาร และตอบโต้ความเสี่ยง คำอธิบาย • การสื่อสารหมายถึง กระบวนการที่ความคิดหรือข่าวสารถูกส่งจากแหล่งสารไปยังผู้รับสาร โดยมีเจตนาที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมบางประการของผู้รับสาร มีองค์ประกอบสำคัญ คือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ/ช่องทาง ผู้รับสาร ผลกระทบ และปฏิกิริยาตอบกลับ • ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดอันตราย ซึ่งอาจถึงชีวิต หรือเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม • ความสำเร็จของการดำเนินการสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง หมายถึง การที่หน่วยงานสามารถสื่อสารข้อมูลความเสี่ยงด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมไปยังภาคีเครือข่ายผ่านช่องทางสื่อสารต่างๆ อย่างน้อย 2 ช่องทาง
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1. คำสั่งคณะกรรมการ/คณะทำงานฯ หรือ โครงสร้างที่มีงานสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยงและ มีสถานที่ปฏิบัติงาน 2. แผนปฏิบัติงานสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง 3. เอกสาร หรือ หลักฐานอื่นๆ เช่น หน้า FB, LINE, Website ที่แสดงถึงมีการดำเนินงานสื่อสาร และตอบโต้ความเสี่ยง 4. เอกสาร/รายงานผลการดำเนินงานสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยงรอบ 12 เดือน
ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง 1 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ในพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ มีพัฒนาการสมวัย คำอธิบาย เด็กอายุ 0-5 ปี หมายถึง เด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน พัฒนาการสมวัย หมายถึง มีพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย (ภาษา/กล้ามเนื้อมัดใหญ่/กล้ามเนื้อมัดเล็ก/การปรับตัวในสังคม และการช่วยเหลือตนเอง) พื้นที่เป้าหมายเฉพาะ หมายถึง ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ในพื้นที่ดำเนินโครงการส่งเสริมโภชนาการ อนามัยแม่และเด็ก และอนามัยสิ่งแวดล้อม ในถิ่นทุรกันดาร ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง เป้าหมาย จำนวน 5 แห่ง
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รายชื่อศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ที่เข้าร่วมโครงการ รายงานผลการประชุมชี้แจงแนวทางการตรวจประเมินพัฒนาการ และการเจริญเติบโตของเด็ก จำนวนครูอาสาสมัคร/เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่เข้ารับการอบรมเพิ่มความสามารถด้านการตรวจประเมินพัฒนาการ หลักสูตรการตรวจประเมินผลพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็ก 0-5 ปี รายงานผลการประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมาย
กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ 2 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการนำเสนอในเวทีวิชาการทั้งใน ระดับประเทศและต่างประเทศ คำอธิบาย • งานศึกษาวิจัย ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีทั้งหมด 7 เรื่อง เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. เอกสารผลการศึกษาวิจัย • 2. หลักฐานการเข้าร่วมนำเสนอผลงานวิจัยทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ
ชื่อตัวชี้วัด 2 :ร้อยละความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายต่อการสนับสนุนการ ดำเนินงานของกลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ คำอธิบาย • ประเด็นการสำรวจความพึงพอใจ ประกอบด้วย • ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ • ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ • ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก • ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. แบบสำรวจความพึงพอใจ • 2. รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพกองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 1 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด :ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีการดำเนินงานคลินิกไร้พุง(DPAC) คำอธิบาย • คลินิกไร้พุง หมายถึง คลินิกที่มีการดำเนินการเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย รวมถึงการสนับสนุนให้เกิดความยั่งยืน โดยมีการดำเนินงาน ดังนี้ • มีการจัดตั้งคลินิก • มีทีมงาน • มีรูปแบบการดำเนินกิจกรรมการให้บริการในคลินิก • มีระบบการประเมิน/ติดตาม/พัฒนาแผนในการติดตาม • ผู้รับบริการ คลอบคลุมประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจดูแลสุขภาพและประชาชนที่มีโรคประจำตัวโรคเรื้อรัง 5 โรค หรือประชาชนกลุ่มเสี่ยงด้านพฤติกรรม • จำนวนสถานบริการสาธารณสุขทั่วประเทศ • รพศ. รพท.รพช. ทั้งหมด จำนวน 838 แห่ง(รพศ.25 แห่ง,รพท. 70 แห่ง,รพช. 743 แห่ง) • รพ.สต. ทั้งหมด จำนวน 9,785 แห่ง
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. รายงานจำนวน/รายชื่อสถานบริการสาธารณสุขที่มีการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (DPAC) • 2. ภาพถ่ายสถานที่ที่ใช้ในการดำเนินงานคลินิก • 3. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน/รายชื่อผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน/ทีมงาน • 4. เอกสาร/แผนการจัดกิจกรรมการให้บริการคลินิกไร้พุง (DPAC) และ • กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. • 5. รายงานผลการประเมินการดำเนินงานคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของศูนย์อนามัย
สำนักทันตสาธารณสุข 4 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ คำอธิบาย • เด็กปฐมวัย (3ปี) หมายถึง เด็กอายุ 3 ปีเต็มจนถึงอายุ 3 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขต รับผิดชอบทั้งหมด • ฟันผุ หมายถึง ฟันที่มีรูผุที่ด้านใดด้านหนึ่งบนฟันหรือเป็นฟันผุที่กินลึกเข้าไปใต้เคลือบฟัน • มีพื้นหรือผนังนิ่ม รวมทั้งฟันผุที่ได้รับการบูรณะแล้ว เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. ท 02 ตามระบบเฝ้าระวังสุขภาพช่องปาก (สำนักทันตสาธารณสุข) • 2. แบบสำรวจที่จัดทำโดยศูนย์อนามัยที่มีการสำรวจโดยถูกต้องตามสถิติ • 3. ข้อมูลที่ปรากฏในระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงาน (DOC) กรมอนามัย • 4. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด กรมอนามัยรอบ 6 9 และ 12 เดือน
ชื่อตัวชี้วัด 2 :ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ คำอธิบาย • โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ หมายถึง โรงเรียนที่มีการจัดการเรียนการ สอนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด ไม่มีการจำหน่าย/บริการ/จัดวางน้ำอัดลมในโรงเรียน • น้ำอัดลม หมายถึง เครื่องดื่มที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายอยู่โดยใช้ความดัน มีส่วนผสมของน้ำตาล • หรือน้ำผลไม้ ทั้งในรูปของบรรจุภัณฑ์สำเร็จรูป หรือการตักแบ่งขาย หรือการผสมขายเอง • น้ำหวาน หมายถึง เครื่องดื่มที่มีปริมาณน้ำตาลหรือเติมน้ำตาลที่ระบุในฉลากโภชนาการ เกินร้อยละ 5 ต่อการ บริโภค 1 ครั้ง • ขนมกรุบกรอบ หมายถึง ขนมที่มีส่วนผสมจากแป้งชนิดต่างๆ เกลือ ไขมัน ผงชูรส แต่งกลิ่น สี และรสชาติ เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. ท 02 ตามระบบเฝ้าระวังสุขภาพช่องปาก (สำนักทันตสาธารณสุข) • 2. แบบสำรวจที่จัดทำโดยศูนย์อนามัยที่มีการสำรวจโดยถูกต้องตามสถิติ • 3. ข้อมูลที่ปรากฏในระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงาน (DOC) กรมอนามัย • 4. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด กรมอนามัยรอบ 6 9 และ 12 เดือน
ชื่อตัวชี้วัด 3 :จำนวนผู้สูงอายุและก่อนวัยสูงอายุได้รับฟันเทียมพระราชทาน คำอธิบาย • ผู้สูงอายุและก่อนวัยสูงอายุ หมายถึง ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่มีการสูญเสียฟัน ทั้งปากและต้องการรับบริการใส่ฟันเทียม กรณีที่ไม่มีผู้สูงอายุต้องการใส่ฟัน เทียมทั้งปาก ให้นับกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นกลุ่มที่เข้าสู่ วัยสูงอายุ • ฟันเทียมพระราชทาน หมายถึง ฟันเทียมทั้งปากหรือเกือบทั้งปาก (16 ซี่ ขึ้นไป) • ฐานพลาสติก เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รายงานผลการจัดบริการทันตกรรม
ชื่อตัวชี้วัด 4 :จำนวนหน่วยบริการจัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก ผู้สูงอายุ คำอธิบาย • หน่วยบริการ หมายถึง หน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐที่มีการจัดบริการระดับปฐมภูมิ • เช่น รพ.สต. เทศบาล • การส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก เป็นการตรวจสุขภาพช่องปาก ให้คำแนะนำ • การฝึกทักษะการควบคุมคราบจุลินทรีย์ หรือการขูดทำความสะอาดฟัน • หรือการทาฟลูออไรด์วาร์นิชที่รากฟัน เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไข :จำนวนหน่วยบริการที่มีการจัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ จังหวัดละ 1 หน่วยบริการ (76 แห่ง) หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : การรายงานจากหน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐที่มีการจัดบริการระดับปฐมภูมิ
สำนักโภชนาการ 3 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ระดับความสำเร็จของการจัดการอาหารที่ดีตามเกณฑ์ โภชนาการเพื่อลดภาวะอ้วนในโรงเรียนระดับปฐมศึกษา คำอธิบาย โรงเรียนปฐมศึกษา หมายถึง โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนชั้นประถม 1-6 หรือ โรงเรียนขยายโอกาส ที่ผ่านการประเมินองค์ประกอบที่ 7 ด้าน โภชนาการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง โรงเรียน เครือข่ายโภชนาการสมวัย • โรงเรียนที่มีการจัดการอาหารที่ดีฯ • 1. มีการประกาศนโยบาย มีแผนงานหรือโครงการ • 2. มีการพัฒนาคุณภาพอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ • 3. มีการบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการในหลักสูตรการเรียนการสอน • 4. มีการคัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยง และมีการแก้ไขในนักเรียนที่มีภาวะอ้วน • 5. บุคลาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอาหารและโภชนาการ ได้รับการ พัฒนาศักยภาพ • 6. ผู้ปกครอง แม่ครัว แกนนำนักเรียน มีส่วนร่วมในการจัดการอาหารใน โรงเรียน
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. แผนงาน 2. รายชื่อโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ • 3. สื่อ นวัตกรรม 4. คู่มือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน • 5. หลักสูตรการเรียนการสอน/แผนการสอน • 6. รายงานผลการดำเนินงาน/สรุปผลการประชุม • 7. เอกสารที่แสดงถึงกิจกรรมการดำเนินงาน • 8. หลักสูตรการอบรม 9. รายงานภาวะโภชนาการ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
ชื่อตัวชี้วัด 2 :จำนวนองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ คำอธิบาย • องค์กร หมายถึง หมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก หรือ โรงเรียน • เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงระดับดีและมีรูปร่างสมส่วน • องค์องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ หมายถึง องค์กรที่ดำเนินการ ขับเคลื่อนให้เด็กในองค์กรมีส่วนสูงระดับดีและสมส่วน เกณฑ์การประเมินองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ มีนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็ก • มีคณะกรรมการและแกนนำดำเนินการขับเคลื่อนองค์กร • มีการดำเนินงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กอย่างต่อเนื่อง • มีการจัดสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ • เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 (ส่วนสูงระดับดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง หรือ สูงกว่าเกณฑ์) เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • ประเมินรับรององค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ โดยศูนย์อนามัย
ชื่อตัวชี้วัด 3 :จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง คำอธิบาย • ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง คือ องค์กรภาครัฐ หรือ เอกชน • ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามองค์ประกอบของการดำเนินงาน 7 ข้อ • และ 3 คุณลักษณะ ดังนี้ • องค์ประกอบของการดำเนินงาน 7 ข้อ • 1. มีคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดการองค์กรเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 2. มีนโยบายด้านการส่งเสริมการจัดการควบคุมน้ำหนัก 3. มีแผนงานสร้างเสริมสุขภาพเพื่อลดโรคอ้วนลงพุง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์เรื่องภัยเงียบของโรคอ้วนลงพุงภายในองค์กร 5. ร้อยละ 80 ของบุคลากรขององค์กรภาครัฐ หรือ เอกชน ที่ทำงานประจำ • อยู่ในที่ตั้งองค์กรได้มีการประเมินรอบเอวด้วยตนเอง • 6. ร้อยละ 60 ของบุคลากรขององค์กรภาครัฐ หรือ เอกชน มีรอบเอวปกติ • หากเป็นหญิงรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. หากเป็นชายรอบเอวน้อยกว่า • 90 ซม. 7. องค์กรเป็นศูนย์เรียนรู้อย่างยั่งยืนได้ โดยมีการบริหารจัดการ ดังนี้ 7.1 มีงบประมาณในการพัฒนาองค์กร 7.2 มีกิจกรรมที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ 3 ประการ 1. องค์กร หมายถึง หน่วยงานใน 6 setting ได้แก่ 1.1) หน่วยงานสาธารณสุข (รพศ. / รพท. / รพช. / สสจ.) 1.2) หน่วยงานภาครัฐทั่วไป 1.3) หน่วยงานเอกชน 1.4) สถานศึกษา/โรงเรียน 1.5) องค์กรปกครองท้องถิ่น 1.6) ชุมชน/หมู่บ้าน/ชมรม 2. องค์กรมีบุคลากรหรือพนักงาน 30 คนขึ้นไป 3. หัวหน้าผู้นำองค์กรสมัครใจที่จะเข้าร่วม และยินดีที่จะร่วมมือในการขับเคลื่อน ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุงกับกรมอนามัยและสำนักงานสาธารณสุข จังหวัด เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. จำนวนและรายชื่อศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ที่เว็บไซต์ของศูนย์อนามัย • 2. สสจ.สรุปผลการประเมินส่งให้ ศอ.ประเมินรับรอง และส่งรายชื่อให้สำนักโภชนาการ ตามแบบรายงาน ปีละ 3 ครั้ง (1 มี.ค./2 มิ.ย./3 ส.ค. 57)
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 1 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด :ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน คำอธิบาย • รพ.สังกัด สป.สธ.หมายถึง รพช.รพร.รพท. รพศ. ที่เข้าร่วมโครงการ และผ่านการ อบรมเพื่อการจัดตั้งคลินิกวัยรุ่น มีจำนวน 835 แห่ง • รพ.ผ่านเกณฑ์ YFHS หมายถึง รพ.มีการจัดบริการ “คลินิกวัยรุ่น” ตามองค์ประกอบของมาตรฐาน • 4 องค์ประกอบคือ 1) การบริหารจัดการ 2) การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและการสร้างความต้องการในการใช้บริการ 3) บริการที่ครอบคลุมความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 4) ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อวัยรุ่นและผ่านเกณฑ์ในระดับที่ 2 ในทุกองค์ประกอบ เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. ข้อมูลรายงานผลการเยี่ยมสำรวจและประเมินโรงพยาบาล และการรายงานผลของศูนย์อนามัยตาม รายไตรมาส • 2. สรุปการประชุมชี้แจงแผนและขั้นตอนแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพ • ทีมผู้ประเมินของศูนย์อนามัย
สำนักส่งเสริมสุขภาพ • เสนอ 10 ตัวชี้วัดดังนี้ • ร้อยละของระบบบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) • ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) • ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85) • จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (12 แห่ง) • ร้อยละของโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95) • ร้อยละของตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40) • จำนวนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร (154 แห่ง) • จำนวนบุคลากรและประชาชนในถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (2,500 คน) • ร้อยละของตำบลที่ผ่านเกณฑ์ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (ร้อยละ 25) • จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่แม่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับนมผง (4,800 ราย)
สำนักส่งเสริมสุขภาพ ...ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ร้อยละของระบบบริการ ANC คุณภาพ คำอธิบาย • ระบบบริการ ANC คุณภาพ หมายถึง การจัดระบบบริการในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ประกอบด้วย • หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (ร้อยละ 60) • การซักประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต • การคัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ เพื่อส่งต่อแพทย์เพื่อดูแลเฉพาะ • (Case management) • การตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันเมื่อมีข้อบ่งชี้โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม • การตรวจร่างกาย ตรวจครรภ์ และฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก • การให้คำแนะนำการบริโภคอาหารและจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟเลท ในหญิงตั้งครรภ์ตลอดการตั้งครรภ์ • การให้ความรู้ตามมาตรฐานโรงเรียนพ่อแม่รายกลุ่ม พร้อมข้อแนะนำ โดยใช้สมุด บันทึกสุขภาพแม่และเด็ก • จัดให้มีช่องทางติดต่อระหว่างผู้รับบริการกับเจ้าหน้าที่ฯ ได้ 24 ชั่วโมง เพื่อให้มีการ ช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉินอย่างทันท่วงที
กลุ่มเป้าหมาย คือโรงพยาบาลทั่วประเทศตั้งแต่ระดับ รพช.ขึ้นไปให้บริการตามมาตรฐาน คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ • ประเมินผล ทุก 6 เดือน โดยทีมประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับส่วนกลางศูนย์อนามัย และจังหวัด เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1. จำนวนและรายชื่อโรงพยาบาลที่ให้บริการตามมาตรฐาน ANC คุณภาพ ในปี 2557 • 2. ข้อมูลรายงาน 6, 9 และ 12 เดือน จากศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 และ สสจ. • 3. รายงานผลการดำเนินงาน 6 9 และ 12 เดือน
ชื่อตัวชี้วัด 2 :ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ คำอธิบาย • ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ หมายถึง ศูนย์เด็กเล็กทุกสังกัดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็ก คุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข 2556 ประกอบด้วย กระบวนการจัดบริการที่ได้มาตรฐาน 6 ด้าน คือ • 1. การเจริญเติบโตของร่างกาย ด้วยการจัดอาหารมื้อหลักตามหลักโภชนาการและ อาหารเสริมตามวัย สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหารและการดูแลสุขภาพช่องปาก • 2. พัฒนาการและการเรียนรู้ตามช่วงวัย • 3. การจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกศูนย์ฯ สะอาดและปลอดภัย • 4. การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อภายในศูนย์ฯ เช่น มือเท้า ปาก ฯลฯ • 5. บุคลากรมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีและมีความรู้ในการเลี้ยงดูเด็ก 6. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • บรรลุผลลัพธ์ 4 ข้อ • 1. เด็กมีพัฒนาสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 (อนามัย 55) • 2. เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 • 3. เด็กมีปัญหาฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 57 • 4. มีการส่งต่อเด็กที่พัฒนาการไม่สมวัย เข้ารับการประเมินและแก้ไขพัฒนาการ • ณ สถานบริการสาธารณสุข ทุกคน
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • 1. รายงานรับรองผลการประเมินศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ - จำนวนและรายชื่อศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพทั้งหมด รายเขตและจังหวัด 2. แหล่งข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 3. รายงานผลการดำเนินงาน 6 9 และ 12 เดือน
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อมสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 2 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ร้อยละของมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการอย่างถูก สุขลักษณะ คำอธิบาย • ค่าเป้าหมาย ร้อยละของมูลฝอยติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้รับการจัดการอย่างถูกสุขลักษณะ • สถานบริการสาธารณสุข สป.สธ.หมายถึง รพศ. รพท.รพช. จำนวน 838 แห่ง (รพศ. 25 แห่ง, รพท.70 แห่ง, รพช.743 แห่ง) • การจัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกสุขลักษณะ หมายความว่า มีการดำเนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 • มูลฝอยติดเชื้อ ความหมายตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545
เกณฑ์การให้คะแนน ค่าเป้าหมายปีงบประมาณ 2557 เป็นค่าเป้าหมายรายปี ไม่สะสม หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1. จำนวนรายชื่อสถานบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง ทั้งหมด และ ที่ได้รับการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออย่างถูกสุขลักษณะ 2. การรายงานปริมาณมูลฝอยติดเชื้อในสถานบริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขตามที่กรมอนามัยกำหนดร่วมกับสำนักนโยบายและและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (แบบรายงาน : แบบประเมินมูลฝอยติดเชื้อรายจังหวัดในเขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 1-12)
ชื่อตัวชี้วัด 2 :ร้อยละของส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(HAS) คำอธิบาย กลุ่มเป้าหมายได้แก่ โรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล • โรงเรียนในสังกัด สพฐ.จำนวนทั้งหมด 30,412 แห่ง • สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวนทั้งหมด 3,016 แห่ง • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวนทั้งหมด 9,510 แห่ง
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1.ข้อมูลจำนวนและรายชื่อโรงเรียนในสังกัด สพฐ. ทั้งหมด และที่มีส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS จำแนกรายจังหวัดในเขตที่ศูนย์อนามัยรับผิดชอบ (แบบรายงานส้วมสาธารณะ 1 และ 2) 2. ข้อมูลจำนวนและรายชื่อสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ทั้งหมด และที่มีส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS จำแนกรายจังหวัดในเขตศูนย์อนามัยรับผิดชอบ (แบบรายงานส้วมสาธารณะ 1 และ 2) 3. ข้อมูลจำนวนและรายชื่อโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทั้งหมด และที่มีส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS จำแนกรายจังหวัดในเขตศูนย์อนามัยรับผิดชอบ (แบบรายงานส้วมสาธารณะ 1 และ 2)
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 1 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 2 :จังหวัดที่มีระบบและกลไกการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม คำอธิบาย จังหวัด 32 แห่ง ที่มีการดำเนินงานเพื่อการคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านอนามัย-สิ่งแวดล้อม ในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การมีระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม หมายถึง สสจ. มีข้อมูลเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เพื่อรองรับการจัดการและแก้ไขปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • 2. การรองรับภาวะฉุกเฉินจากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ หมายถึง • 2.1 สสจ. มีการกำหนดผู้รับผิดชอบงานภาวะฉุกเฉินจากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษร • 2.2 สสจ.เข้าร่วมการพัฒนาศักยภาพเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินจากมลพิษ สิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ • 3. การส่งเสริม สนับสนุนให้เทศบาลในเขตจังหวัดมีการใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเพื่อควบคุมการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมายถึง เทศบาลในเขตจังหวัดที่มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 32 จังหวัดได้รับความรู้ คู่มือ แนวทาง คำแนะนำในการใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเพื่อควบคุมการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1.ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รวบรวมผลการดำเนินงาน รอบ 6 , 9 เดือน และ 12 เดือนจาก สสจ. 2. ส่งแบบรายงานผลการติดตามผลการดำเนินงานให้กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข 1 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :จำนวนจังหวัดที่มีคณะอนุกรรมการสาธารณสุขดำเนินงานตามอำนาจ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย คำอธิบาย จังหวัด หมายถึงจังหวัดที่มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (จังหวัดนำร่องที่มีความพร้อมในการดำเนินงาน) จำนวน 32 จังหวัด คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด หมายถึง คณะอนุกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการสาธารณสุข อำนาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด เสนอความเห็นต่อ คกก.สธ.ในการกำหนดแผนงานและมาตรการเกี่ยวกับการสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม ศึกษา วิเคราะห์และให้ความเห็นต่อ คกก.สธ.ในการปรับปรุงกฎหมาย ให้ข้อเสนอแนะต่อราชการส่วนท้องถิ่นในการออกข้อกำหนดของท้องถิ่น ให้คำปรึกษาและพัฒนาศักยภาพ จพถ.จพส. และผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งฯ จัดทำโครงการและประสานงานระหว่างหน่วยราชการและราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ควบคุม สอดส่องและประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่นเพื่อรายงานต่อ คกก.สธ. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ออกคำสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมาให้ถ้อยคำ หรือให้ส่งเอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องหรือวัตถุใดๆ เพื่อให้ประกอบการพิจารณา ตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ คกก.สธ.มอบหมาย
เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไข การประเมินผล พิจารณาจากจังหวัดที่มีคณะอนุกรรมการสาธารณสุขดำเนินงานตาม อำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายข้อใดข้อหนึ่งในอำนาจหน้าที่ 8 ข้อ หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : ฝ่ายเลขานุการของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ส่งรายงานการประชุมคณะอนุกรรมการฯ ให้ คกก.สธ. ผ่าน ศกม. ศกม. รวบรวมรายงานการประชุมของคณะอนุกรรมการฯ และการเข้าร่วมสังเกตการณ์ในการประชุมคณะอนุกรรมการฯ ศกม. ในฐานะเลขานุการ คทง.ติดตามและประเมินผล จัดทำข้อสรุปของคณะทำงานกำกับติดตามและประเมินผลรายงานต่อ คกก.สธ.
ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัยศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย 2 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :จำนวนตัวอย่างที่ให้การสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์และทดสอบ คุณภาพน้ำในโครงการของกรมอนามัย คำอธิบาย จำนวนตัวอย่างที่ให้การสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์และทดสอบคุณภาพน้ำ หมายถึง การให้บริการข้อมูลเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์โดยการวิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบคุณภาพตัวอย่างน้ำด้วยเครื่องมือวัดทางห้องปฏิบัติการโดยคิดเป็นจำนวนตัวอย่างที่ให้การสนับสนุน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • ศูนย์ห้องปฏิบัติการฯ รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการดำเนินงานเป็นรายเดือน
ชื่อตัวชี้วัด 2 :ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ คำอธิบาย • ผู้รับบริการ หมายถึง หน่วยงานภาครัฐทั้งภายในและภายนอกกรมอนามัย รัฐวิสาหกิจ เอกชนและประชาชนผู้มารับบริการจากศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย ประเด็นการสำรวจความพึงพอใจ 1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • ศูนย์ห้องปฏิบัติการฯ ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ
สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 4 ตัวชี้วัด ชื่อตัวชี้วัด 1 :ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย คำอธิบาย โดยเร่งรัดให้มีการควบคุมกำกับกิจการตลาดตามพระราชบัญญัติการ สาธารณสุข พ.ศ. 2535 - ตลาดประเภทที่ 1 : ตลาดที่มีโครงสร้างอาคาร - ตลาดประเภทที่ 2 : ตลาดที่ไม่มีโครงสร้างอาคาร :ตลาดนัด เป้าหมาย 1.สุดยอดตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย จำนวน 24 แห่ง 2.ตลาดนัด น่าซื้อ ต้นแบบ 77 แห่ง
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • แผนงาน/โครงการ • การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน • ผลการดำเนินงานรณรงค์/ ตรวจเยี่ยม/การประชาสัมพันธ์/การสนับสนุน • รายงานผลการประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมาย
ชื่อตัวชี้วัด 2 :ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus : CFGT+) คำอธิบาย เป้าหมาย พัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน“ร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี” จำนวน 60 แห่ง 5.1 ต้องผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย 5.2 ส้วมในร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS 5.3 มีอ่างล้างมือสำหรับผู้บริโภค 5.4 มีช้อนกลางสำหรับผู้บริโภค 5.5 ผักสดปลอดสารพิษ ยาฆ่าแมลง 5.6 ผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมและมีบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร 5.7 ใช้ถุงมือสัมผัสอาหาร
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • แผนงาน/โครงการ • การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน • การประชาสัมพันธ์/การสนับสนุน • รายงานผลการประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมาย
ชื่อตัวชี้วัด 3 :ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถานทึ่ประกอบอาหารผู้ป่วย (โรงครัวโรงพยาบาล) พัฒนาได้มาตรฐานกรมอนามัย คำอธิบาย • สถานบริการสาธารณสุข สป.สธ. หมายถึง รพศ. รพท. รพช. จำนวน 838 แห่ง (รพศ. 25 แห่ง, รพท. 70 แห่ง, รพช. 743 แห่ง) • เป้าหมาย • โรงพยาบาลสังกัด กระทรวงสาธารณสุข มีสถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วย ได้มาตรฐานกรมอนามัย ร้อยละ 30
เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐานอ้างอิง/ แหล่งข้อมูล/ วิธีการจัดเก็บข้อมูล : • แผนงาน/โครงการ • การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน • การสำรวจข้อมูล/การสนับสนุน • รายงานผลการประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมาย