160 likes | 303 Views
สถานการณ์ค้าปลีก ค้าส่ง 2008. กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา. สถานการณ์ค้าปลีก - ค้าส่งทั่วไปในประเทศไทย 2007-2008. 2541 – 2548 ค้าปลีกมีการขยายตัวร้อยละ 3 ต่อปี อยู่ในสภาวะชะลอตัวตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ณ ปี 2548 มีธุรกิจค้าปลีก ค้าส่งทั้งสิ้น 752,196 ราย
E N D
สถานการณ์ค้าปลีก ค้าส่ง 2008 กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา
สถานการณ์ค้าปลีก-ค้าส่งทั่วไปในประเทศไทย2007-2008สถานการณ์ค้าปลีก-ค้าส่งทั่วไปในประเทศไทย2007-2008 • 2541 – 2548 ค้าปลีกมีการขยายตัวร้อยละ 3 ต่อปี อยู่ในสภาวะชะลอตัวตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ • ณ ปี 2548 มีธุรกิจค้าปลีก ค้าส่งทั้งสิ้น 752,196 ราย • คิดเป็นร้อยละ 33 ของ SMEs ทั่วประเทศ • อยู่ในสภาวะการเมืองผันผวนและรอร่างกฎหมายค้าปลีกให้ผ่านการพิจารณาในปลายปี 2007 • อยู่ในสภาวะเสี่ยงกับสภาวะเศรษฐกิจถดถอย เพราะราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้น • ผู้บริโภคเริ่มลดการบริโภคและใช้สอยอย่างประหยัด เกิดการต่อต้านสาธารณะและผลักดันกฎหมายต่างๆ เพื่อให้ค้าปลีกดั้งเดิมอยู่รอด Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008
สถานการณ์ค้าปลีกภูธร“ทำไมกลุ่มทุนขนาดใหญ่จึงสนใจตลาดภูธร”สถานการณ์ค้าปลีกภูธร“ทำไมกลุ่มทุนขนาดใหญ่จึงสนใจตลาดภูธร” เกิดการรุกคืบของกลุ่มทุนค้าปลีกขนาดใหญ่สู่ภูธร มีความได้เปรียบด้านเงินทุนเทคโนโลยี พฤติกรรมผู้บริโภคภูธรเปลี่ยนไป มีกลยุทธ์ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคภูธรได้ดีกว่า ความอิ่มตัวของการค้าปลีกในเมืองหลวง Model แห่งการเปลี่ยนแปลงธุรกิจค้าปลีก 2007-2008 Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008
ข้อมูลการรุกคืบของค้าปลีกข้ามชาติสู่ภูธรในปี 2550-51 • มีการรุกคืบของค้าปลีกส่วนกลางขนาด > 5,000 ตร.ม. สู่ภูธร >145 สาขา • ปี 2540 - 45 มีอัตราการเติบโตเพียง 3.4 สาขาต่อปี หรือประมาณ 7% • ปี 2545 – 50 มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นมากถึง 17.4 สาขาต่อปี หรือ20% • มีการวางแผนรุกคืบเข้าสู่จังหวัดภูธรที่มีรอยต่อติดกับชายแดน เพื่อหวังลูกค้าจากประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ อ. แม่สาย จ.เชียงราย อ. แม่สอด จ.ตาก และ จ.น่าน • การรุกคืบของค้าปลีกส่วนกลางในรูปแบบ C-Store และ Supermarket ที่มีในส่วนภูธร > 2,500 จะเพิ่มขึ้นในปี 2551 อย่างต่อเนื่อง Ref: http://www.banmuang.co.th/economic.asp?id=134533 24 Feb 2008
สถานการณ์เชิงบวก / จุดแข็ง /โอกาส จุดแข็งของค้าปลีกท้องถิ่น ค้าปลีกท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อลูกค้ามากกว่า ค้าปลีกท้องถิ่นมีความใกล้ชิดกับลูกค้าและล่วงรู้ความต้องการเชิงลึก (Consumer Insight) มากกว่า ค้าปลีกขนาดเล็กควบคุมต้นทุนให้ต่ำลงได้ดีกว่า เพราะมี Overhead cost ต่ำกว่า ค้าปลีกขนาดเล็กมีความคล่องตัวกว่า เข้าถึงแหล่งซื้อและจัดการ Logistics ง่ายกว่า โอกาสที่เอื้ออำนวย รัฐบาลใหม่นำนโยบายช่วยเหลือชุมชนกลับเข้ามาใหม่ เช่น กองทุนหมู่บ้าน SML ทำให้มีเงินหมุนเวียนและเสริมสภาพคล่องได้ ความพยายามผลักดัน พรบ.ค้าปลีกค้าส่งฯ ในรัฐบาลนี้จะช่วยชะลอการขยายตัวของค้าปลีกจากส่วนกลางได้ระดับหนึ่ง สถานการณ์เชิงลบ / จุดอ่อน / ข้อจำกัด จุดอ่อนของค้าปลีกท้องถิ่น การเข้าสู่ตลาดของค้าปลีกส่วนกลางทำให้ท้องถิ่นเกิดความตื่นเต้น ส่งผลให้ลูกค้าโน้มเอียงไปใช้บริการของรายใหม่เสมอ การบริหารจัดการของค้าปลีกส่วนกลางมีเทคนิคและกลยุทธ์ที่รุนแรงและสร้างความแปลกใหม่ในตลาดได้เหนือกว่าในท้องถิ่น ค้าปลีกรายย่อยในท้องถิ่นมีปริมาณการซื้อน้อย ต้นทุนซื้อสูง จึงไม่สามารถแข่งขันด้านราคากับรายใหญ่หรือส่วนกลางได้ ค้าปลีกท้องถิ่นขนาดเล็ก ขนาดนวัตกรรม ขาดเทคโนโลยี ขาดความทันสมัยและคุณภาพที่จะแข่งขันได้ ข้อจำกัดและอุปสรรค พฤติกรรมผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนแปลงไป มีความต้องการชีวิตที่ทันสมัยและคุณภาพชีวิตสูงขึ้น มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัวและผลจากวิกฤตราคาน้ำมันที่ทำให้การบริโภคอาจลดลง และผู้บริโภคประหยัดขึ้น อุปสรรคจากคู่แข่งรายใหญ่จากส่วนกลางที่ให้ความสนใจพื้นที่ในภูธรเพิ่มขึ้น วิเคราะห์สภาพแวดล้อมตลาดค้าปลีกภูธร 2551 ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
วิวัฒนาการของธุรกิจค้าปลีกในจังหวัดเชียงใหม่วิวัฒนาการของธุรกิจค้าปลีกในจังหวัดเชียงใหม่
การค้าปลีกประเทศไทยในปัจจุบันกับการเข้ามาของกลุ่มทุนต่างชาติการค้าปลีกประเทศไทยในปัจจุบันกับการเข้ามาของกลุ่มทุนต่างชาติ อ.กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา
เหตุผลหลักที่ธุรกิจค้าปลีกข้ามชาติเข้ามาลงทุนในไทยเหตุผลหลักที่ธุรกิจค้าปลีกข้ามชาติเข้ามาลงทุนในไทย ในปี พ.ศ. 2544 • ประเทศไทยได้เปิดการค้าเสรี ภายใต้กรอบ WTO • การเปิดเสรีการค้าปลีกภายใต้ข้อตกลง GATT • การยกเลิกกฎหมายปว.281 • การใช้ พรบ. การประกอบกิจการของคนต่างด้าวแทน • กระทรวงพาณิชย์ระบุว่าธุรกิจการค้าทั้งระบบของไทยมีมูลค่าประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท และคาดว่าในปี 2544 จะเพิ่มเป็น 2 ล้านล้านบาท (ผู้จัดการรายวัน, Aug. 15, 2000) • ECR Thailand พบว่า ในปี 1999 จำนวนธุรกิจค้าปลีกดั้งเดิม ต่อธุรกิจร้านค้าสมัยใหม่ คิดเป็นอัตราส่วน 60:40 และคาดการณ์ว่าธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่จะมีอัตราการ เติบโตสูงถึง 150% ในปี 2544 นี้ ปว.281 คือ ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 281 ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาอาชีพสงวนสำหรับคนไทย
ความเป็นมาของธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทยความเป็นมาของธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย ยกเลิก ปว.281 ค้าเสรี WTO , GATT ปี 2544รัฐบาลทักษิณมีมูลค่าการเติบโตของธุรกิจไทยสูงมาก
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มทุนต่างชาติโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มทุนต่างชาติ ฐานเศรษฐกิจ อ้างใน พัชรี ทองเหลืองสุข ผลกระทบของการขยายตัวของดิสเคานท์สโตร์ที่ส่งผลต่อร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมก่อนและ หลังมีการปรับปรุงในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ หอการค้าไทย , 2549
จำนวนสาขาของดิสเคานท์สโตร์ในประเทศไทย (2542-2548)
ค้าปลีกข้ามชาติขนาดใหญ่เหล่านี้ทำให้ค้าปลีกรายย่อย (โชห่วย) ยอดขายลดลง ปิดกิจการและมีจำนวนทั่วประเทศลดลง เกิดการแก้ปัญหาเพื่อช่วยเหลือค้าปลีกรายย่อย ทั้งด้านกฎหมาย การเมือง และเทคนิคทางบริหารจัดการ
Problem : Critical in Thailand Retailing • ผลกระทบจากการที่รัฐเปิดเสรีทางการค้า ภายใต้เงื่อนไขกับ WTO เมื่อหลายปีก่อนส่งผลให้ค้าปลีกข้ามชาติเข้ามาจับจ่ายใช้สอยทรัพย์สินที่ราคาตกต่ำในประเทศไทยอย่างสนุกมือ มิหนำซ้ำยังสร้างธุรกิจขนาดยักษ์ที่หวังจะให้ธุรกิจรายย่อยสูญพันธ์ ด้วยการลดราคาสินค้าอุปโภค-บริโภค กระหน่ำกันอย่างบ้าเลือด ทำให้ค้าปลีกรายย่อยแทบจะย่อยสลาย • ธุรกิจข้ามชาติขนาดยักษ์มีอำนาจต่อรองสูงมาก ทำให้บรรดาผู้ผลิตต้องยอมขายส่งในราคาต่ำกว่าที่เคยทำ แต่ไม่มีผู้ผลิตรายใดที่ยอมเฉือนเนื้อตัวเอง จึงต้องทำทุกวิถีทางเพื่อลดต้นทุนการผลิต ได้แก่ ลดค่าแรงพนักงาน เพิ่ม OT ลดต้นทุนวัตถุดิบ คุณภาพลดลง ปลดพนักงานออก เลิกจ้าง เลิกโบนัส หรือหันไปบีบราคาเกษตรกรหรือผู้ผลิตวัตถุดิบ เป็นต้น
Problem : Critical in Thailand Retailing • เกิดการผลักดันกฎหมายต่างๆ เพื่อควบคุมการขยายตัว และลดบทบาทต่างๆ ของค้าปลีกขนาดใหญ่ กฎหมายที่เกี่ยวข้องได้แก่ • พรบ. ผังเมือง พ.ศ. 2518 • พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 • พรบ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 • พรบ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 พรบ. การประกอบธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง พ.ศ. 2550 • รัฐบาลริเริ่มบริษัทกลางเพื่อช่วยเหลือธุรกิจค้าปลีก ได้แก่ บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็ง จำกัด เมื่อปี 2545
จาก พรบ. ผังเมือง และ พรบ. ควบคุมอาคาร ที่ภาครัฐนำมาบังคับใช้เพื่อลดบทบาทการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกข้ามชาติเหล่านั้นส่งผลให้บางกิจการแก้เกมส์ ทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงไปอีก คือ Problem : Critical in Thailand Retailing การรุกคืบของค้าปลีกสมัยใหม่ ด้วยการ Downsize รุกเข้าสู่ชุมชน