1 / 5

การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ

การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ. มีการประชาสัมพันธ์แก่บุคลากรในรพ. และผู้ป่วย ๏ ประชาสัมพันธ์ผ่านทาง DIS News ในเรื่อง - Flow ในการรายงาน (ม.ค.2551) - ความหมาย ADR (ก.พ.2551) - การประเมินระดับความน่าจะเป็นของ ADR (ก.พ.2551)

Download Presentation

การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรายงาน ADR/การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ มีการประชาสัมพันธ์แก่บุคลากรในรพ. และผู้ป่วย ๏ประชาสัมพันธ์ผ่านทาง DIS News ในเรื่อง - Flow ในการรายงาน (ม.ค.2551) - ความหมาย ADR (ก.พ.2551) - การประเมินระดับความน่าจะเป็นของ ADR (ก.พ.2551) - ADRที่พบบ่อยในโรงพยาบาล(ก.พ.2551)

  2. การรายงาน ADR/การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ ๏ ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย ให้ผู้ป่วย แจ้งประวัติการแพ้ยาแก่พยาบาล แพทย์ และเภสัชกร ๏ป้ายเตือน ADR - หน้าห้องตรวจ/หอผู้ป่วย ๏ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับความหมายของ “ปกOPD cardสีชมพู”ให้แพทย์ทราบ อย่างทั่วถึง

  3. การรายงาน ADR/การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ ๏พยาบาล เมื่อมีการบริหารยาแก่ผู้ป่วย ผู้ป่วย ER/ การให้ยา pre-op ในวิสัญญี/ การให้ยา Stat dose ใน ward ให้ถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกราย กรณีที่ 1 ผู้ป่วยรู้สึกตัว ถามผู้ป่วย กรณีที่ 2 ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ถามญาติหรือโทร. ประสานห้องจ่ายยา หรือดูข้อมูลจาก computer

  4. การรายงาน ADR/การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ กรณียาที่ติด SMP (Safety Monitoring Program) 1. Sticker ยา ระบุ “(SMP)” หลังชื่อยา 2. IPD - เภสัชกรเฝ้าระวังตามระบบการติดตาม ADR พร้อมทั้งมี Note เตือนใน Lock ยาของ ผู้ป่วย โดยประสานกับพยาบาล ส่วนผู้ป่วย D/C ดำเนินการเช่นเดียวกับ OPD 3. OPD- เภสัชกรแนะนำผู้ป่วยพร้อมแนบ ไปรษณียบัตรเพื่อให้แจ้ง ADR ส่งมายัง กลุ่มงานเภสัชกรรม

  5. การรายงาน ADR/การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ ปี 2550 รายงานการเกิด ADR ซ้ำ 4 ราย ปี 2551 (ตค.50-กพ.51) เกิด ADR ซ้ำ 2 ราย ขอความร่วมมือพยาบาลเพื่อแจ้งการแพ้ยาที่ ห้องจ่ายยาเพื่อจะได้ลงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ Flow การแจ้ง ADR ของผู้ป่วยตาม DIS NEWS ฉบับประจำเดือน มกราคม 2551

More Related