490 likes | 680 Views
Introduction to TQA December 18, 2007. TQA. A WARENESS. Awareness Attempt Achieve. ศาสตราจารย์ นายแพทย์อาวุธ ศรีศุกรี. TQA คืออะไร ?. TQA เป็นวิถีทางในการทำงานร่วมกันของบุคลากรทุกระดับเพื่อมุ่งสู่ความสำเร็จขององค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม
E N D
Introduction to TQA December 18, 2007 TQA Chiang Mai Med Sch.
TQA AWARENESS Awareness Attempt Achieve ศาสตราจารย์ นายแพทย์อาวุธ ศรีศุกรี TQA Chiang Mai Med Sch.
TQA คืออะไร ? • TQA เป็นวิถีทางในการทำงานร่วมกันของบุคลากรทุกระดับเพื่อมุ่งสู่ความสำเร็จขององค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม • เป็นรางวัลคุณภาพแห่งชาติ บริหารจัดการโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ • ใช้แนวทางของ MBNQAของสหรัฐฯ TQA Chiang Mai Med Sch.
QA จะให้ทำอะไรก็จะทำตาม TQA อยากทำอะไรก็ทำ TQA Chiang Mai Med Sch.
ที่มาของรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่มาของรางวัลคุณภาพแห่งชาติ • รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) พัฒนามาจากแนวทางของรางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) ซึ่งเป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ Mr. Malcolm Baldrigeอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี 1980 ซึ่งเป็นช่วงที่สหรัฐกำลังมีปัญหาเรื่องความสามารถในการแข่งขัน • มีประเทศต่าง ๆ นำแนวทางไปประยุกต์เป็นเกณฑ์รางวัลคุณภาพของชาติตนมากกว่า 60 ประเทศ TQA Chiang Mai Med Sch.
ที่มา .. จุดเริ่มต้น • สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ - Thailand Productivity Institute • หน่วยงานอิสระ ตั้งตามมติคณะ รมต. เมื่อ 18 ม.ค.2537 http://www.ftpi.or.th • วัตถุประสงค์ • พัฒนาการเพิ่มผลผลิต • พัฒนาความสามารถในการแข่งขันระดับโลก • ศูนย์กลางประสานงาน • Benchmarking - กระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ • Malcolm Baldrige National Quality Award • Malcolm Baldrige Education Criteria for Performance Excellence TQA Chiang Mai Med Sch.
Benchmarkingคืออะไร Benchmark • เกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะ-ระดับเทียบเคียง • Point of reference • Best-in-class performance Benchmarking • กระบวนการศึกษาและประยุกต์วิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practices) เพื่อทำให้เราดีเท่าหรือดีกว่าที่ๆดีที่สุด Best practice.. วิธีปฏิบัติที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ หรือการปฏิบัติที่นำให้องค์กรสู่ความเป็นเลิศ TQA Chiang Mai Med Sch.
Dentotsu ของญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (~ ค.ศ.1950)Benchmarking ของบริษัท Xerox Corperation สหรัฐอเมริกา (ค.ศ.1979) ก่อนทำ benchmarking • อัตราของเสีย มากกว่าคู่แข่ง 30 เท่า • ต้นทุนการออกแบบผลิตภัณฑ์ มากกว่าคู่แข่ง 3 เท่า • เวลาในการปรับตั้งเครื่องจักร มากกว่าคู่แข่ง 5 เท่า • ระยะเวลาในการวางตลาดผลิตภัณฑ์ใหม่ มากกว่าคู่แข่ง 2 เท่า • ใช้จำนวนพนักงาน มากกว่าคู่แข่ง 2 เท่า ภายหลังทำ benchmarking • อัตราของเสียจากการผลิต ลดลง 78% • ต้นทุน ลดลง 50% • ความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ เพิ่มขึ้น 50% TQA Chiang Mai Med Sch.
เหตุผลในการต้องทำ benchmarking • สภาพการแข่งขันรุนแรงขึ้น .. จากระดับประเทศสู่ระดับโลก • รางวัลคุณภาพด้านการจัดการ .. MBNQA, . . . TQA • การเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด • ตัวอย่างการทำbenchmarking • Motorola ปรับปรุงการรับคำสั่งซื้อและการส่งสินค้าโดย ศึกษาจาก Domino pizza และ Federal Express • First Chicago National Bank ปรับปรุงการจัดคิวลูกค้า โดยศึกษาจากบริษัทสายการบิน TQA Chiang Mai Med Sch.
Malcolm Baldrige National Quality Award วัตถุประสงค์ • สร้างความตระหนักเรื่องความสำคัญของคุณภาพ และการทำให้มีผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน เป้าหมาย • เพิ่มคุณค่าให้กับผู้รับบริการ • เพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถให้กับองค์กร • เกิดการเรียนรู้ในองค์กรและบุคลากร TQA Chiang Mai Med Sch.
ความท้าทาย สู่การประเมินตนเองอย่าง ‘เข้มข้น’ - คงความเป็นผู้นำ - คำนึงถึงปัจจัยภายนอก - ปรับปรุงผลการดำเนินงาน - ใช้ผลปรับปรุงต่อเนื่อง TQA Chiang Mai Med Sch.
Development of Quality in the last 20 years • Since 1980s……. • QC • QA • CWQC • TQM • ISO 9000 • Business Process Re-engineering(BPR) • Balanced Scorecard(BSC) • Six-sigma • MBNQA • National Quality Awards TQA Chiang Mai Med Sch.
THAILAND QUALITY AWARD มุ่งสู่ความเป็นเลิศ BEST PRACTICES Organization Profile Internal Assessment ADLI Action Plan for Improvement Implementation..s สู่การปฏิบัติจริง เข้าใจกระบวนการและแนวทางการตรวจประเมิน Core Values and Concepts, Frameworks การฝึกปฏิบัติ เข้าใจกระบวนการสู่ความเป็นเลิศ ระบบและการให้คะแนนส่วนที่เป็นกระบวนการและส่วนที่เป็นผลลัพธ์ ทำความเข้าใจ CRITERIA FOR PERFORMANCE EXCELLENCE TQA Chiang Mai Med Sch.
Quality Awards • 1951 – Deming Prize, Japan • 1984 – Canada award, Canada • 1987 –MBNQA, USA • 1988 – Australian Business Excellence Awards, Australia • 1991 –EFQM,European Union • 1994 –SQA,Singapore • 1995 –JQA,Japan • 1999 – Education and healthcare versions of MBNQA, USA • 2001 –TQA,Thailand Quality Business Excellence TQA Chiang Mai Med Sch.
ช่วงก่อนปี1980 Performance JAPAN USA ? QC Establishment of Deming Prize MBNQAstart…… 1950 1960 1970 1980 1990 Time TQA Chiang Mai Med Sch.
หลังปี 1980 เป็นต้นมา Performance USA JAPAN TQC ? QC Benchmarking Establishment of Deming Prize 1951 Restructuring Establishment of TQA Establishment of JQA Establishment of MBNQA 1980 19851987 1990 1995 2000 Time MBNQA, Health Care and Education start…… TQA Chiang Mai Med Sch.
วิวัฒนาการของ MBNQA • 1987 (พศ. 2530) Criteria established for National Quality Award • 1991(พศ. 2534)Key concepts in the examination criteria identified • 1992 (พศ. 2535) “Core values and concepts” is built • 1997(พศ. 2540)Change to “Criteria for Performance excellence” • 1999(พศ. 2542)Education and Healthcare Criteria introduced • 2005 (พศ. 2548) Non-profit award category being introduced TQA Chiang Mai Med Sch.
เกณฑ์ TQA ไม่ระบุเครื่องมือหรือวิธีการใดๆ ไม่ระบุตัวชี้วัด กรอบการดำเนินงานขึ้นกับสภาพแวดล้อม เงื่อนไข และความท้าทายที่องค์กรประเมินตนเอง ผู้ประเมินภายในและภายนอกใช้เกณฑ์เดียวกันในการประเมิน การพัฒนาปรับปรุงต้องอาศัยข้อมูล Benchmarking การประเมินผลเพื่อเป็นองค์กรชั้นเลิศตามสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานนั้น ระบบ QAทั่วไป โครงร่างองค์กรเป็นเรื่อง routine ระบุขั้นตอนและกระบวนการตามที่ระบบกำหนดใช้ ระบุกลุ่มดัชนีชี้วัดชัดเจน ทุกหน่วยงานดำเนินการตามรูปแบบเดียวกัน การประเมินภายในและการประเมินภายนอกอาจไม่เหมือนกัน การพัฒนาปรับปรุงอาศัยกลไกระบบ QA ภายใน การประเมินผลเป็นไปตามเกณฑ์ขั้นต่ำ ความแตกต่างระหว่างเกณฑ์TQA และ ระบบQAทั่วไป TQA Chiang Mai Med Sch.
มุ่งสู่ความเป็นเลิศ จุดเริ่มต้น ประกันคุณภาพการศึกษา พัฒนาคุณภาพบริการ Stop worrying where we are TQA TQA TQA Chiang Mai Med Sch.
ความเป็นเลิศ โครงร่าง องค์กร กระบวนการประกันคุณภาพ การจัดระดับเทียบเคียง Start paying attention To where we are going TQA TQA Chiang Mai Med Sch.
The 4 key Steps to Best Practices Where are we ? Assessment - KPI Who is the best ? Best Practices Q-naire Interview Site Visit, etc. How do they do it ? Improvement to achieve Best Practices How can we do it better ? TQA Chiang Mai Med Sch.
ORGANIZATION PROFILE CORE VALUES AND CONCEPTS for Performance Excellence Baldrige Education Criteria for Performance Excellence FRAMEWORK: A System Perspective EVALUATION : PROCESS(A-D-L-I)andRESULTS BEST PRACTICES TQA Chiang Mai Med Sch.
เกณฑ์การดำเนินงานที่เป็นเลิศเกณฑ์การดำเนินงานที่เป็นเลิศ • ระบบผู้นำ • แผนกลยุทธ์ • การเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ระบบการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • อาจารย์และบุคลากร • การจัดกระบวนการ นำด้วย โครงร่างองค์กร ผลลัพธ์ ความเป็นเลิศ 1. ลักษณะองค์กร ก. สภาพแวดล้อม ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ กระบวนการบริหารจัดการ TQA Chiang Mai Med Sch.
เส้นทางสู่ความเป็นเลิศเส้นทางสู่ความเป็นเลิศ TQA เขียนรายงาน No Self Assessment Yes Action Planเพื่อปรับปรุงระบบ ผลประกอบการ? เพิ่มเติม รายงาน ปรับปรุงระบบ สมัครขอรับรางวัล Performance Excellence คุณภาพการศึกษา TQA Chiang Mai Med Sch.
วัตถุประสงค์การจัดระดับเทียบเคียงเพื่อวัตถุประสงค์การจัดระดับเทียบเคียงเพื่อ • นำแนวทางรางวัลคุณภาพแห่งชาติไปใช้ในการปรับปรุง วิธีการดำเนินการ ความสามารถในการแข่งขัน และผลการดำเนินการขององค์กร • ชี้นำให้มีการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ(best practices)ระหว่างองค์กร • นำมาใช้ในการจัดการการดำเนินงานขององค์กรและเป็นแนวทางในการวางแผนและเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ • เปิดช่องทางมุ่งสู่ความเป็นเลิศ(Performance Excellence) TQA Chiang Mai Med Sch.
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งรางวัลMBNQAวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งรางวัลMBNQA • To be a standard for organization seeking the highest levels of overall quality performance and competitiveness. • To be a framework that can be used by organization to tailor their systems and processes towards ever-improving quality performance. • To help evaluate quality standards and expectations, and to facilitate communication and sharing among and within organizations of all types based on common understanding of key quality requirements. TQA Chiang Mai Med Sch.
Visionary Leadership Learning-centered education Organizational and Personal Learning Valuing faculty, staff, and partners Agility Focus on the Future Managing for Innovation Management by Fact Social Responsibility Focus on Results and Creating Value System Perspective Criteria Basis(Education) Core Values and Concepts Categories of Frame work 1. Leadership 2. Strategic Planning 3. Student, Stakeholder, and Market Focus 4. Measurement, Analysis, and Knowledge Management 5. Faculty and Staff Focus 6. Process Management 7. Organizational Performance Results TQA Chiang Mai Med Sch.
ค่านิยมหลักและหลักการใน TQA • การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ • การศึกษาแบบเน้นการเรียนรู้ • การเรียนรู้ขององค์กรและแต่ละบุคคล • การเห็นคุณค่าของอาจารย์ บุคลากร และคู่ความร่วมมือ • ความคล่องตัว • การมุ่งเน้นอนาคต • การจัดการเพื่อนวัตกรรม • การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • ความรับผิดชอบต่อสังคม • การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า • มุมมองเชิงระบบ TQA Chiang Mai Med Sch.
Visionary Leadership • ชี้นำทิศทางที่ถูกต้องและสื่อถึงคุณค่า คุณธรรมให้แก่คนในองค์กร • สร้างกรอบแห่งการปฎิบัติงานเพื่อความเป็นเลิศ • กระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างนวัตกรรมและเสริมสร้างองค์ความรู้ • สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ • ส่งเสริม สนับสนุน และจูงใจให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการสร้างผลงานและการพัฒนาไปสู่ความเป็นเลิศ • สร้างสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่างๆ • เป็นต้นแบบในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแห่งธรรมาภิบาล TQA Chiang Mai Med Sch.
Learning-centered education • เข้าใจความต้องการและความแตกต่างในการเรียนรู้ของนักศึกษาและแปลงความต้องการนี้เป็นเนื้อหาวิชาและหลักสูตรที่เหมาะสม • คาดการถึงการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานและทิศทางการศึกษา • คณาจารย์ต้องเข้าใจถึงความแตกต่างและข้อจำกัดในการเรียนรู้ของนักศึกษาต่างกลุ่ม • เน้นการเรียนรู้ที่มีส่วนร่วมและ active learning • กระบวนการประเมินผลที่นอกจากจะประเมินความก้าวหน้าของนักศึกษาแต่ละคนแล้วต้องสามารถวัดผลการเรียนรู้และทักษะตามมาตรฐานที่กำหนดทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ • การปรับหลักสูตรการเรียนการสอนตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความรู้ใหม่ๆที่เกิดขึ้น TQA Chiang Mai Med Sch.
Organizational and Personal Learning • การเรียนรู้ควรเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตประจำวันของบุคคลากรในองค์กร • ความก้าวหน้าของคณาจารย์และบุคลากรในองค์กรขึ้นกับโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนาทักษะใหม่ๆ • การเรียนรู้ในองค์กรมีตั้งแต่ระดับบุคคล สายงาน แผนกงาน ภาควิชา จนถึงสถาบัน • การเรียนรู้ช่วยให้กระบวนการแก้ปัญหามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดการแบ่งปันประสบการณ์จากกรณีศึกษาและการปฏิบัติที่ดีเลิศ(Best Practices) • นำไปสู่นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ TQA Chiang Mai Med Sch.
Valuing Faculty, Staff, and Partners • ความสำเร็จขององค์กรขึ้นกับความหลากหลายของความรู้ ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์และแรงจูงใจของคณาจารย์ บุคลากรและผู้ร่วมงานทุกกลุ่ม • การเห็นคุณค่าของกลุ่มบุคคลเหล่านี้หมายถึงการพัฒนาศักยภาพของพวกเขาทั้งด้านความรู้ การทำงาน และคุณภาพชีวิตเพื่อให้พวกเขาสามารถทำงานเพื่อสนับสนุนความเติบโตขององค์กรอย่างเต็มที่ • การพัฒนาอาจรวมไปถึงการฝึกอบรม การสอนงาน การให้โอกาสในการสับเปลี่ยนงาน ความก้าวหน้าในตำแหน่ง และผลตอบแทนที่ให้เพิ่มตามทักษะที่สูงขึ้น • ผู้ร่วมงานภายนอกรวมถึงสถาบันอื่น สมาคม หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่จะช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ และขยายตลาดใหม่ๆหรือเปิดหลักสูตรใหม่ TQA Chiang Mai Med Sch.
Agility • การปรับเปลี่ยนที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง • ความคล่องตัวในการทำงานและตอบสนองต่อความต้องการภายนอกได้เร็วขึ้น • เวลาที่ใช้ไปในงานบริการต่างๆภายในสถาบัน • ความรวดเร็วฉับไวและคุณภาพของงานบริการ TQA Chiang Mai Med Sch.
Focus on the Future • เข้าใจปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการศึกษาทั้งระยะสั้นและระยะยาว • ปัจจัยเหล่านี้อาจรวมถึง: • การปฏิรูปการศึกษาทั่วโลก • การเปลี่ยนรูปแบบการสอน • ความคาดหวังของนักศึกษาและสังคม • การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี • การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของประชากร • การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรและงบประมาณ • การปรับเปลี่ยนของสถาบันคู่แข่ง • การวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่ออนาคตและการเปลี่ยนแปลงช่วยให้วางแผนการพัฒนาบุคลากรและเครื่องมือได้ทันการ TQA Chiang Mai Med Sch.
Managing for Innovation • นวัตกรรมหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่นำองค์กรไปสู่สิ่งที่ดีขึ้น • นวัตกรรมนี้รวมถึงการพัฒนาหลักสูตร วิธีการสอน กระบวนการทำงาน การให้บริการ การวิจัย และการนำผลไปใช้ ซึ่งหมายถึงกิจกรรมทุกเรื่องในกระบวนการบริหารจัดการภายในสถาบัน • การจัดการเพื่อนวัตกรรมจึงมุ่งเน้นที่การนำเอาความรู้ที่สั่งสมทุกระดับภายในองค์กรออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทุกด้าน TQA Chiang Mai Med Sch.
Management by Fact • การกำหนดตัววัดต่างๆที่ตอบสนองความต้องการและยุทธศาสตร์ของสถาบัน • ตัววัดควรครอบคลุมพันธะกิจทุกด้านที่สถาบันดำเนินการจำแนกตามประเภทและกลุ่มเป้าหมาย • ตัววัดควรสามารถชี้บ่งผลการปฏิบัติงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว • การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของการติดตามประเมินผล และการวางแผน • ตัววัดทั้งหลายควรชี้บ่งถึงผลการดำเนินงานในแต่ละระดับที่จะสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายของสถาบันในทิศทางเดียวกัน • ตัวบ่งชี้รวมถึงคุณลักษณะของบัณฑิตนอกเหนือวิชาการโดยตรงด้วย เช่นจริยธรรม สร้างสริมสุขภาพ การใฝ่รู้ศึกษาด้วยตนเอง เป็นต้น TQA Chiang Mai Med Sch.
Social Responsibility • ความรับผิดชอบที่มีต่อสังคมการปฏิบัติตามกฎหมายและจรรยาบรรณที่ดี • ผู้นำพึงตระหนักถึงการดำเนินงานในทุกส่วนที่เกี่ยวข้องในด้าน ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย • การวางแผนควรพิจารณาการดำเนินงานในเชิงป้องกันเช่นห้องปฏิบัติการ โรงพยาบาล อาคารสถานที่ ฯลฯ • การมีส่วนร่วมในชุมชนและการช่วยแก้ปัญหาในสังคมเป็นการเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่สถาบัน • การประพฤติปฏิบัติเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีในการจรรโลงไว้ซึ่งจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ TQA Chiang Mai Med Sch.
Focus on Results and Creating Value • ผลลัพธ์ที่ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • ผลลัพธ์เหล่านี้ได้สร้างคุณค่าอะไรให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ นักศึกษา ชุมชน สังคม คณาจารย์และบุคลากร ผู้ร่วมงาน และ ผู้ใช้บัณฑิต • ตัวชี้วัดทั้งหลายได้ช่วยสร้างสมดุลให้แก่ความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่างๆอย่างไร TQA Chiang Mai Med Sch.
System Perspective • มุมมองที่เป็นระบบช่วยสร้างความเชื่อมโยงส่วนต่างๆเข้าด้วยกัน และสร้างความบูรณาการให้เกิดขึ้น • ระบบช่วยให้ทุกส่วนมุ่งไปสู่ทิศทางเดียวกัน • สนับสนุนการบริหารงานและการจัดการที่ต่อเนื่องและคงเส้นคงวา TQA Chiang Mai Med Sch.
ขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ตั้งรับปัญหา การปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าเป็นกระบวนการ และตอบสนองความต้องการหรือปัญหาเฉพาะหน้าส่วนใหญ่ ขาดการกำหนดเป้าประสงค์ที่ดี TQA Chiang Mai Med Sch.
ขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ องค์กรอยู่ในขั้นเริ่มต้นของการปฏิบัติการ โดยกระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมินผล การปรับปรุง และเริ่มมีการประสานงานบ้างระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร มีการกำหนดกลยุทธ์และเป้าประสงค์เชิงปริมาณ • แนวทางเริ่มเป็นระบบ TQA Chiang Mai Med Sch.
ขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ การปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ และมีการประเมินผลอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง โดยมีการแบ่งปันความรู้และการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆในองค์กร กระบวนการตอบสนองกลยุทธ์และเป้าประสงค์ที่สำคัญขององค์กร • แนวทางสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน TQA Chiang Mai Med Sch.
ขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศขั้นตอนการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ การปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกระบวนการที่สามารถทำซ้ำได้ และมีการประเมินผลอย่างสม่ำเสมอเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุง โดยความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่ได้รับผลกระทบ การวิเคราะห์ นวัตกรรม และการแบ่งปันส่งผลให้การทำงานข้ามหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการและตัววัดในการติดตามความก้าวหน้าของเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์และเป้าประสงค์ของการปฏิบัติการที่สำคัญ • แนวทางที่มีบูรณาการ TQA Chiang Mai Med Sch.
คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์ • มุ่งเน้นที่ผลลัพธ์(Focus on Results) • -เน้นลูกค้าและตลาด (บัณฑิต ความต้องการ สถานพยาบาล ) • - ผลประกอบการทางการเงิน และคุณค่าอื่นๆ • - ทรัพยากรบุคคล • - ประสิทธิผลขององค์กร • ไม่เฉพาะเจาะจง หรือกำหนดให้ใช้(Nonprescriptive and adaptable) • - วิธีการ เทคนิคหรือระบบใด • - รูปแบบโครงร่างองค์กร หรือการบริหาร • - หน่วยย่อยในองค์กรมีระบบการบริหารที่ต้องเหมือนกันทุกส่วน • สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ(System Perspective) • - ความเชื่อมโยงของเกณฑ์แต่ละเกณฑ์ • - การดำเนินงานตามหลัก PDCA TQA Chiang Mai Med Sch.
M ตัวที่ 2 - Model Malcolm Baldrige National Quality Award (1987) Thailand Quality Award (2001) TQA Chiang Mai Med Sch.
ส่วนประกอบพื้นฐาน • Organizational profile: พื้นฐานด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร ความสัมพันธ์กับกลุ่มต่างๆในระดับองค์กร สภาพการแข่งขันและความท้าทาย • System operation: ระบบการปฏิบัติการทั้ง 6 ส่วนคือ ระบบผู้นำ การวางแผนกลยุทธ์ การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้เสีย การมุ่งเน้นคณาจารณ์และบุคลากร การจัดการกระบวนการ และผลลัพธ์ • System foundation: ระบบการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ TQA Chiang Mai Med Sch.
โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น คณาจารย์ และบุคลากร 1. การนำ องค์กร 3. การมุ่งเน้นนักศึกษา ผู้มีส่วนได้เสีย และตลาด 6. การจัดการ กระบวนการ มุมมองในเชิงระบบ 7. ผลลัพธ์ในการ ดำเนินงาน ขององค์กร 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ TQA Chiang Mai Med Sch.