210 likes | 395 Views
ก ารบริหารเงินค่าบริการผู้ป่วยใน ปีงบประมาณ 2556. 23-24 สิงหาคม 2555 นำเสนอผู้รับผิดชอบส่วนกลางและสาขาเขต เมืองทองธานี. กรอบ การนำเสนอ. หลักการและเหตุผลของการบริหารเงินค่าบริการผู้ป่วยใน และเป้าหมาย. หลักการบริหารเงิน. 3. เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายปี 55 และ 56.
E N D
การบริหารเงินค่าบริการผู้ป่วยในการบริหารเงินค่าบริการผู้ป่วยใน ปีงบประมาณ 2556 23-24 สิงหาคม 2555 นำเสนอผู้รับผิดชอบส่วนกลางและสาขาเขต เมืองทองธานี
กรอบการนำเสนอ หลักการและเหตุผลของการบริหารเงินค่าบริการผู้ป่วยใน และเป้าหมาย หลักการบริหารเงิน 3. เปรียบเทียบหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายปี 55 และ 56 4. ระบบข้อมูลและการเชื่อมโยงกับสาขาเขต 5. การวัดความสำเร็จของการดำเนินการจ่าย
หลักการและเหตุผล เงินบริการผู้ป่วยใน เป็นเงินสำหรับจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำหรับประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่เข้ารับบริการกรณีบริการผู้ป่วยในทุกราย ยกเว้นบางรายการที่มีกำหนดการจ่ายเฉพาะเพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น กระตุ้นบริการและการเข้าถึง ลดระยะเวลาในการรอคิวการรับบริการ เช่น ผ่าตัดตาต้อกระจกในผู้ป่วย Senile Cataract การรักษานิ่วทางเดินปัสสาวะ โดยเป็นการจ่ายตามผลงานการให้บริการ (Performance)
เป้าหมาย หน่วยบริการ/สถานบริการ ได้รับเงินชดเชยค่าบริการที่ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว อัตราการจ่ายเงินมีความเป็นธรรม สอดคล้องกับความจำเป็นของการเจ็บป่วย (health need) ในระดับพื้นที่
งบประมาณ บาทต่อประชากร : 972.17 บาท จำนวนประชากร : 48,445,000คน งบประมาณที่ได้รับ : 47,096,775,650 บาท หมายเหตุ : เฉพาะข้อมูลผู้ป่วยใน ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดเท่านั้นไม่นับรวมเงินค่าบริการการผ่าตัดต้อกระจก และการรักษานิ่วทางเดินปัสสาวะ
หลักการบริหารเงิน (1) Global Budget รายเขต 14 เขต คำนวณโดยใช้สัดส่วน ผลงานในอดีต : RW เฉลี่ยต่อผู้มีสิทธิตามโครงสร้างอายุ (55 : 45) 1. • 2. ให้กันเงินไว้เพื่อตามจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ได้ ไม่เกิน • บาทต่อผู้มีสิทธิ โดยให้ อปสข. พิจารณาแนวทางการจ่ายตามข้อเสนอของ สปสช.เขต และที่เหลือให้จ่ายด้วยระบบ DRGsversion 5 15
หลักการบริหารเงิน (2) สปสช.เขต สามารถกำหนดอัตราจ่ายต่อadjRWเบื้องต้นที่อัตราหนึ่ง โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. และต้องจ่ายให้หมด Global budge • 4. ให้ อปสข. พิจารณาเงินส่วนที่อาจจะเหลือ (จากการกำหนดเป้าหมายและอัตราจ่ายต่อ adjRWเบื้องต้น) ให้หน่วยบริการเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขต่างๆ ได้ ตัวอย่าง : จ่ายเพิ่มเติมบริการที่ต้องการส่งเสริมการจัดบริการในพื้นที่ เช่น การผ่าตัดสมอง เด็กน้ำหนักตัวน้อย
หลักการบริหารเงิน (3) 5. เพื่อเพิ่มสภาพคล่องแก่หน่วยบริการ สปสช. จะจ่ายเงินล่วงหน้าให้หน่วยบริการไปก่อนตามวิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดร่วมกันระหว่างหน่วยบริการ (สธ เอกชน รัฐนอกสธ. และ สปสช.) ทั้งนี้อัตราการจ่ายล่วงหน้าจะกำหนดร่วมกันระหว่างส่วนกลางและสาขาเขตซึ่งจะมีการหักล้างทางบัญชีปลายปี
หลักการบริหารเงิน (4) • 6. การใช้บริการกรณีสำรองเตียงให้เป็นไปตามอัตราที่มีการเห็นชอบร่วมกันระหว่างหน่วยบริการกับ สปสช.เขตแต่ละเขต โดยกำหนดอัตราจ่ายไม่เกิน 15,000บาทต่อ adjRW • 7. การใช้บริการกรณีมาตรา 7 ให้เป็นไปตามเงื่อนไขบริการและอัตราตามคู่มือแนวทางปฎิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขปีงบประมาณ 2556 • กรณีเหตุอันสมควร : จ่ายตามระบบ DRG • กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน : จ่ายตามเงื่อนไข EMCO
หลักการบริหารเงิน (5) • 8. อัตราจ่าย (Base Rate) แบ่งเป็น 2 อัตรา คือ • อัตราจ่ายข้ามเขต : 9,600บาท ต่อ 1AdjRW • อัตราจ่ายในเขต : มาจากการคำนวณจากสูตร • ในการจ่ายเงินรายเดือน (สำหรับหน่วยบริการที่ไม่ได้รับเงินล่วงหน้า) สปสช.เขต อาจกำหนดอัตราคงที่จ่ายไปก่อน และมาคำนวณอัตราจ่ายจริง อีกครั้งเมื่อจะปิดวงเงิน Global Budget (ข้อมูลทั้งปี) สปสช. เขต อาจกันเงินจำนวนหนึ่งไว้เพื่อจ่ายกรณีข้อมูลล่าช้าหรืออุทธรณ์ได้ (ในอดีตกันเงิน 1-3 %)
หลักการบริหารเงิน (6) • การปิดวงเงิน Global Budget • การปิดรับข้อมูลเพื่อคำนวณ Base Rate สปสช. ส่วนกลาง จะแจ้งให้หน่วยบริการส่งข้อมูลให้แล้วเสร็จภายใน 15 ตุลาคม และคำนวณอัตราจ่าย พร้อมทั้งแจ้งยอดเงินรายรับทั้งหักล้างทางบัญชีล่วงหน้า ให้สิ้นสุดภายในเดือนตุลาคม (ตามมาตรการวงเงินคงเหลือไม่เกิน 5%)ในกรณีข้อมูลที่ส่งมาล่าช้ากว่านี้จะคำนวณจ่ายจากวงเงินที่กันไว้ หรืออาจใช้เงินปีถัดไป
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข 1. จ่ายตามระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม หรือ DRGs โดยใช้ DRG Version 5 2. หน่วยบริการส่งข้อมูลการเรียกเก็บในโปรแกรม Electronic เท่านั้น กรณีที่มีการรักษาเป็นผู้ป่วยใน แต่มีการกำหนดการจ่ายเป็นกรณีเฉพาะ เช่น การผ่าตัดตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ การรักษานิ่วทางเดินปัสสาวะ จะไม่ได้รับการจ่ายเงินจากบริการผู้ป่วยใน มะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ปี 2555 และปี 2556
ระบบข้อมูลและความเชื่อมโยงกับสาขาเขต ระบบข้อมูลและความเชื่อมโยงกับสาขาเขต
การกำกับติดตามข้อมูลเพื่อการพัฒนาการกำกับติดตามข้อมูลเพื่อการพัฒนา • กรณีมีการใช้บริการนอกเขตพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม (ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ต่อครั้งน้อยกว่า 2) • และข้อมูลบริการผู้ป่วยที่ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ต่อครั้งน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.5 ทั้งการใช้บริการในเขตและการใช้บริการนอกเขต 3.การติดตามข้อมูลอื่นๆ เช่น CMI UR การส่งต่อข้ามเขต การ Re-admission เป็นต้น
ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ร้อยละความถูกต้องของการจ่ายเงิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99 2. ร้อยละของรายงานการตรวจและประมวลจ่ายชดเชยค่าบริการ ที่สามารถ ออกทันตามเวลาที่กำหนด 3. อัตราการจ่ายชดเชยจริง กรณีกองทุนผู้ป่วยในต่ำหรือสูงกว่าอัตราประมาณการ (จ่ายล่วงหน้า) ไม่เกินร้อยละ 5 4. ร้อยละของข้อมูลที่หน่วยบริการขอรับการชดเชย กรณีผู้ป่วยใน มีการขออุทธรณ์การจ่ายชดเชยลดลง 5. อัตราการเบิกจ่ายงบกองทุนตามแผนที่กำหนด (เงินเหลือไม่เกิน 5%)