390 likes | 1.18k Views
กรมชลประทาน. การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในภารกิจที่ถ่ายโอนให้อปท. สำหรับบุคลากรของกรมชลประทาน. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ. 24 กันยายน 2552. สาระสำคัญในหลักการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542.
E N D
กรมชลประทาน การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในภารกิจที่ถ่ายโอนให้อปท.สำหรับบุคลากรของกรมชลประทาน โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ 24 กันยายน 2552
สาระสำคัญในหลักการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 แผนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2543 แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 1) ส่วนราชการ 57 กรม ใน 15 กระทรวง และ 1 ส่วนราชการที่ไม่ได้สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ต้องถ่ายโอนภารกิจรวม 6 ด้าน จำนวน 245 ภารกิจ ให้แก่ อปท. ทุกรูปแบบ กรมชลประทานการถ่ายโอน 8 ภารกิจ • 1. การดูแลบำรุงรักษา ปรับปรุงโครงการชลประทานขนาดเล็ก • 2. การดูแลรักษาทางน้ำ • 3. การดูแลรักษา ปรับปรุง โครงการชลประทานระบบท่อ • 4. บำรุงรักษาทางชลประทาน • 5. โครงการขุดลอกหนองน้ำและคลองธรรมชาติ • 6. งานจัดสรรน้ำในระดับแปลงนา และหรือคันคูน้ำ • 7. การสูบน้ำนอกเขตชลประทาน • 8. โครงการถ่ายโอนการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 2
สรุปผลภารกิจที่ถ่ายโอนให้อปท.ตามแผนการกระจายอำนาจฯ และแผนปฏิบัติการปี2543 (ถ่ายโอนในปี 2545-2548) ที่มา: จากการสำรวจข้อมูลของส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกวิทยาฯ (ถึงมี.ค.2549)
สาเหตุที่อปท.ไม่ยอมรับโอนภารกิจสาเหตุที่อปท.ไม่ยอมรับโอนภารกิจ • สภาพอาคารชำรุดเสียหายมาก • อปท.ไม่มีงบประมาณ • อปท.ไม่มีเจ้าหน้าที่ที่ชำนาญ • โครงการคาบเกี่ยวกับหลายอบต. ให้ ชป.เร่งดำเนินการ+รายงานสรุป
พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่อปท.(ฉบับที่ 2)พ.ศ.2549 แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ขอบเขตการถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการฯ (ฉบับที่ 2) แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กรมชลประทาน ถ่ายโอนภารกิจ จำนวน 2 ภารกิจ (เพิ่มเติม) 1. การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน 2. การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก • แหล่งน้ำที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน และมีปริมาตรเก็บกักน้ำ น้อยกว่า 2 ล้านลูกบาศก์เมตร ให้ถ่ายโอนให้กับ อปท. ที่เป็นที่ตั้งแหล่งน้ำนั้น • 2. แหล่งน้ำที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าหนึ่งอปท. • ให้ส่วนราชการเป็นผู้ดำเนินการ หาก อปท. แต่ละแห่งตกลงกันได้ • ก็ให้ถ่ายโอนให้อปท. ที่ขอรับโอนและมีความพร้อม • 3. แหล่งน้ำขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าหนึ่งจังหวัด หรือมีปริมาตรเก็บกักน้ำมากกว่า 2 ล้านลูกบาศก์เมตร ให้ส่วนราชการเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างและบำรุงรักษาต่อไป
ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจ 1.การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำที่ประชาชน ใช้ประโยชน์ร่วมกัน 1.ชป.ถ่ายโอนแหล่งน้ำที่มีปริมาตรเก็บกักน้อยกว่า 2 ล้านลบ.ม. ได้แก่ อ่างเก็บน้ำ, ฝายน้ำล้น, ทำนบ, ระบบส่งน้ำให้อปท.ที่เป็นที่ตั้งของแหล่งน้ำนั้น ให้อปท.ดูแลรักษา 2.ให้ ชป. กำหนดประเภท ลักษณะ ขนาด และมาตรฐานการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำที่สามารถถ่ายโอนให้อปท. 3.กรณีแหล่งน้ำที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่ อปท.มากกว่าหนึ่งแห่ง ให้ถ่ายโอนให้อบจ.หรืออปท.ร่วมกันดำเนินการกับอบจ.โดยให้ชป.พิจารณาตามความเหมาะสม 4.ชป.จัดทำแผนการถ่ายโอนที่ชัดเจน รวมทั้งจัดทำคู่มือปฏิบัติงานและฝึกอบรมให้แก่บุคลากรของอปท. ที่มา: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (2551)
ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอน/วิธีปฏิบัติในการถ่ายโอนภารกิจ 2. การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก 1.ให้ชป.ถ่ายโอนการดูแลการชลประทานขนาดเล็กเพื่อการเกษตร การบริโภค และเพื่อการอื่น ตามที่ ชป.กำหนด 2.กรณีการชลประทานขนาดเล็กที่มีการใช้ประโยชน์ครอบคลุมพื้นที่ อปท.มากกว่าหนึ่งแห่ง • อาจถ่ายโอนให้อปท.นั้นร่วมกันดำเนินการ • หรือถ่ายโอนให้อบจ.หรืออปท.นั้น ร่วมดำเนินการกับอบจ. โดยให้ชป.พิจารณาตามความเหมาะสม 3.ให้ชป.จัดทำแผนการถ่ายโอนที่ชัดเจนให้อปท. ที่มา: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (2551)
คำสั่งกรมฯ เรื่อง แต่งตั้ง คกก.บริหารการถ่ายโอนภารกิจ ทรัพย์สิน บุคลากร ของกรมชลประทานให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คำสั่งกรมฯ ที่ ข.578/2551 เรื่อง แต่งตั้งคกก.บริหารการถ่ายโอนฯ ประธานคกก.=รธบ. / รองประธานคกก.=รธร. กรรมการ(นอกกรมฯ)=ผู้แทนสกถ./กพ./กพร./ สำนักงบฯ/กปถ. กรรมการ(ในกรมฯ)=ผส.อน./ผส.ชป.1,12,14/ผอ.มด./ผอ.ผง. ผฝอ./ผปก.ชป.4,5 ฝ่ายเลขาฯ=ส่วนปรับปรุงฯสำนักอุทกฯ/กองกฎหมาย อำนาจหน้าที่=บริหารจัดการเรื่องการถ่ายโอนฯ/จัดทำแผน-ขั้นตอน/กำหนดประเภท-ลักษณะงานที่จะถ่ายโอน/ติดตามประเมินผล/แก้ไขปัญหาอุปสรรค
การดำเนินการของคกก.บริหารการถ่ายโอนภารกิจฯของกรมการดำเนินการของคกก.บริหารการถ่ายโอนภารกิจฯของกรม คกก.บริหารฯ (ของกรมฯ) ได้ประชุม 2 ครั้ง • ประชุมครั้งที่ 1 เพื่อกำหนดขอบเขตขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ (เมื่อ 24 พ.ย.51) • “คกก.กระจายอำนาจให้แก่อปท.”ขอให้กรมฯ ปรับปรุงแผนถ่ายโอนฯ คือ (1) ถ่ายโอนให้แล้วเสร็จในปี 2553 (2) ระบุรายละเอียดจำนวนและที่ตั้งของภารกิจ อปท.ที่จะรับโอน กำหนดระยะเวลาที่จะถ่ายโอนให้อปท. (3) จัดทำแผนฝึกอบรม • ประชุมครั้งที่ 2 เพื่อปรับปรุงแผนตามมติของ“คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อบริหารแผนการกระจายอำนาจให้แก่อปท.”(เมื่อ 23 มี.ค.52) • เสนอกรมฯส่งแผนให้ “คณะอนุกรรมการฯ” แล้วเมื่อ 2 ก.ย. 52 • “คณะอนุกรรมการฯ” ประชุมพิจารณาแผนอีกครั้งในวันที่ 22 ก.ย.52
แผนการดำเนินงานของชป.(ตามแผนฯ ฉบับที่2 พ.ศ.2549) • แผนการดำเนินงาน • ให้เสร็จสิ้นในปี 2553 • งานก่อสร้าง ดำเนินการได้ถึงงบปี 2553 • งานบำรุงรักษา เมื่อก่อสร้างเสร็จแล้ว ให้ถ่ายโอนแก่อปท.ดูแลตามขอบเขตและขั้นตอนแผนปฏิบัติการฉบับที่ 2 • สรุปแผนที่ถ่ายโอนภารกิจการชป.เล็กให้อปท.ได้แก่ อ่างเก็บน้ำ, ฝายน้ำล้น, คลอง คู ระบบส่งน้ำในแปลงนา, โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า, สระน้ำและหนองธรรมชาติ (ดูรายละเอียดในเอกสาร) • รวม 248 โครงการ • รวม 180 อปท. • รวม 40 จังหวัด
ขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ ภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 1 เป็นอาคารประเภท เขื่อน และทำนบ รูปแบบที่ 1: เป็น เขื่อนและทำนบที่ ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูง < 5.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) รูปแบบที่ 2:เป็น เขื่อนและทำนบที่ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ <2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูงตั้งแต่ 5.00-15.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) กรณีเขื่อนสูงมากกว่า 15 เมตร ไม่ถ่ายโอน
ขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ ภารกิจ การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 2 เป็นอาคารประเภท ฝายและระบบส่งน้ำ รูปแบบที่ 3: 3.1 ฝาย ในลุ่มน้ำย่อย/จังหวัดเดียว ความสูงสันฝายไม่เกิน 2.50 ม.จากท้องน้ำ ปริมาณน้ำผ่านสูงสุดในรอบ 25 ปี ไม่เกิน 15 ลบ.ม./วินาที 3.2 ระบบส่งน้ำ ในพื้นที่ดูแลของ อปท. คลอง/คูน้ำ/ระบบส่งน้ำในแปลงนานอกเขตชลประทาน พื้นที่เกษตรที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ ภารกิจ การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก รูปแบบที่ 4:การถ่ายโอนภารกิจ การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอนขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอน เขื่อนและทำนบ 13
รูปแบบที่ 1:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ เขื่อนและทำนบอาคารที่ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิมความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. และความสูงจากฐานราก(ระดับดินเดิม) < 5.00 ม. > 2 ม. 1:3 หรือ ลาดกว่า 1:3 หรือ ลาดกว่า <5 ม. ความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. < 3ม. 1:3 หรือลาดกว่า หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 14
เขื่อนและทำนบอาคารที่ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิมเขื่อนและทำนบอาคารที่ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิม 15
รูปแบบที่ 1:การถ่ายโอนภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 1: เป็น เขื่อนและทำนบที่ ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ < 2 ล้าน ลบ.ม. และความสูง < 5.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการร่วมกับรัฐ (Share Function) กรมชลประทาน ดำเนินการ อปท. ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น ไม่ยุ่งยาก ยุ่งยาก สำรวจ-ออกแบบ ดำเนินการก่อสร้าง ดำเนินการก่อสร้าง กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ 16 หมายเหตุ ดำเนินการร่วมกัน กรมชลประทานดำเนินการ อปท.ดำเนินการ
รูปแบบที่ 2:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ เขื่อนและทำนบอาคารที่ปิดกั้นลำน้ำเดิมความจุ <2 ล้าน ลบ.ม. ความสูง 5-15 เมตร จากฐานราก (ระดับดินเดิม) สูง 5-15 ม. ปริมาตรเก็บกักน้ำ < 2 ล้าน ลบ.ม. ระดับดินเดิม หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 17
เขื่อนและทำนบอาคารที่ปิดกั้นลำน้ำเดิมเขื่อนและทำนบอาคารที่ปิดกั้นลำน้ำเดิม 18
รูปแบบที่ 2:รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ กรณีที่ 2.1 : เป็น เขื่อนและทำนบที่ ปิดกั้นลำน้ำเดิม ความจุ <2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูง ตั้งแต่ 5-15 เมตร จากฐานราก(ระดับดินเดิม) ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการร่วมกับรัฐ (Share Function) อปท. ดำเนินการ กรมชลประทาน ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น สำรวจ-ออกแบบ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล ดำเนินการก่อสร้าง ดูแลรักษาและบริหาร จัดการน้ำ 19 หมายเหตุ ดำเนินการร่วมกัน กรมชลประทานดำเนินการ อปท.ดำเนินการ
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอนขั้นตอนและวิธีการดำเนินงานถ่ายโอน ฝายและระบบส่งน้ำ 20
รูปแบบที่ 3:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ 3.1 ฝายที่มีการถ่ายโอนภารกิจฯ Qmax <15 ลบ.ม./วินาที ความสูงสันฝาย< 2.50 ม. หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 21
ฝาย 22
รูปแบบที่ 3:การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ 3.2 ระบบส่งน้ำที่มีการถ่ายโอนภารกิจฯ • พื้นที่รับน้ำ <2,000ไร่ หมายเหตุการวางโครงการ ออกแบบและคำนวณ ก่อสร้าง ตรวจสอบวิเคราะห์ ดูแลการใช้ และบำรุงรักษา ต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรโยธาที่มีประสบการณ์ตาม พ.ร.บ.วิศวกร พ.ศ.2542 และกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ.2550 23
ระบบส่งน้ำ 24
กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล อปท. ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น สำรวจ-ออกแบบ ดำเนินการก่อสร้าง ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ รูปแบบที่ 3:รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจการก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ ฝายและระบบส่งน้ำ ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการเอง ฝาย ในลุ่มน้ำย่อย/จังหวัดเดียว ความสูงสันฝายไม่เกิน 2.50 ม.จากท้องน้ำ ปริมาณน้ำผ่านจุดที่ตั้งฝาย สูงสุดในรอบ 25 ปี ไม่เกิน 15 ลบ.ม./วินาที ระบบส่งน้ำ ในพื้นที่ดูแลของ อปท. คลอง/คูน้ำ/ระบบส่งน้ำในแปลงนา นอกเขตชลประทาน พื้นที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ 25
อปท. ดำเนินการ ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล รูปแบบที่ 4:รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจการดูแลการชลประทานขนาดเล็ก ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการเอง เขื่อนดิน/ทำนบดิน มีปริมาตรเก็บกักน้อยกว่า 2 ล้าน ลบ.ม. และความสูงน้อยกว่า 15.00 ม. จากฐานราก(ระดับดินเดิม) ฝาย มีความสูงสันฝาย ไม่เกิน 2.50 ม. จากท้องน้ำ คลองส่งน้ำ คูน้ำ ระบบส่งน้ำในแปลงนา โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า มีพื้นที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ 26
การเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนฯการเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนฯ • การจัดการฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง • จัดโดยคกก.กระจายอำนาจฯ - หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับผู้บริหาร • หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านกฎหมาย • หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ปฏิบัติงานด้านช่าง • หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเฉพาะ (เฉพาะอปท) • จัดโดยกรมชลประทาน • โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในภารกิจที่ถ่ายโอนสำหรับบุคลากรของกรมชลประทาน (จัดเมื่อ 24 ก.ย. 52) • โครงการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในภารกิจถ่ายโอนให้แก่อปท. • ข้อมูลข่าวสารทาง Website • สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น http://www.dloc.opm.go.th/ • ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกฯ http://water.rid.go.th/hwm/imp/tran_230752.html
4. มาตรฐานและคู่มือที่เกี่ยวข้อง 3. • สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี • คู่มือการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น (thailocaladmin.go.th เปิด e-book) • มาตรฐานอ่างเก็บน้ำและเขื่อนขนาดเล็ก • มาตรฐานการก่อสร้าง บูรณะ และการบำรุงรักษาแหล่งน้ำ • มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร • กรมชลประทาน • มาตรฐานโครงการชลประทานขนาดเล็กประเภทอ่างเก็บน้ำ • มาตรฐานอาคารชลประทานประเภทฝาย • มาตรฐานอาคารในระบบส่งน้ำและระบายน้ำ 28
ขอขอบคุณ กรมชลประทาน น้ำสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง