1 / 134

ส่งออก หรือ นำเข้า จองระวางได้ง่ายนิดเดียว...

ส่งออก หรือ นำเข้า จองระวางได้ง่ายนิดเดียว. What Determines Methods of Transport. COURIER. Transportation Modes. SPEED OF DELIVERY determine when the cargoes must be at the buyer’s disposal. SERVICE AVAI- LIBILITY sets the standards and influences the other factors.

aggie
Download Presentation

ส่งออก หรือ นำเข้า จองระวางได้ง่ายนิดเดียว...

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ส่งออก หรือ นำเข้า จองระวางได้ง่ายนิดเดียว...

  2. What Determines Methods of Transport COURIER Transportation Modes SPEED OF DELIVERY determine when the cargoes must be at the buyer’s disposal SERVICE AVAI- LIBILITY sets the standards and influences the other factors INCOTERMS the agreement between the buyer and the seller 2

  3. 100กว่า Ship Agent ที่ให้บริการในประเทศไทย 1,000กว่าFreight Forwarder ที่มี ดังนั้นการใช้เวลาในการคัดเลือกสิ่งที่ดีที่สุด เช่น ระยะเวลาในการคัดเลือก ราคาที่เหมาะสม ประสิทธิภาพในการให้บริการเรื่องเหล่านี้เป็นสิ่งที่ยุ่งยากและลำบากในการตัดสินใจที่เลือกใช้บริการเมื่อต้องมีการส่งออกและนำเข้า

  4. การจัดส่งสินค้าออกหรือนำเข้าสินค้า จากประเทศ มีหลายวิธีนอกเหนือจากอาศัยเครื่องบินแล้วทางทะเลก็นับว่าเป็นทางเลือกที่ได้รับความนิยมไม่น้อยไปกว่ากันนั่นอาจเป็นเพราะการทางเรือสามารถบรรทุกของได้ครั้งละมากๆค่าใช้จ่ายค่อนข้างถูกกว่าและสามารถส่งสินค้าไปถึงปลายทางด้วยความปลอดภัยเช่นเดียวกับวิธีอื่นๆการเดินเรือในแต่ละเที่ยวต้องมีการกำหนดเวลาตารางเรือ เวลาและสถานที่รับ-สินค้าที่ชัดเจนแน่นอน เพื่อให้ผู้รับบริการล่วงหน้าและสามารถเลือกเส้นทางเดินเรือได้อย่างถูกต้อง แต่ก่อนที่ผู้รับบริการจะทำการส่งออกหรือเข้าท่านทราบถึงขั้นตอนการส่งออกทาเรือหรือไม่

  5. การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศเป็นปัจจัยที่ถือว่าสำคัญที่สุดของการ ทำธุรกรรมทางการค้าระหว่างประเทศ โดยปกติแล้วเป็นการาขนส่งสินค้า จากผู้ขายในประเทศหนึ่งไปยังผู้ซื้อในอีกประเทศหนึ่ง การขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศนี้สามารถกระทำได้ทั้งทางบก ทางน้ำ และ ทางอากาศ สำหรับท่านที่ยังใหม่ต่อการนำเข้า-ส่งออก ความรู้เกี่ยวกับจอง ระวางในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศที่สำคัญ ที่จำเป็นจะต้องทราบ มีดังต่อไปนี้

  6. เริ่มจากต้องรู้1.รูปแบบการขนส่งก่อนนะครับSea / Air?Inbound / Outbound?

  7. เริ่มจาก Sea Export

  8. การขนส่งทางทะเล ประเทศไทยจัดเป็นประเทศที่มีลักษณะเป็น RIMLAND คือเป็นประเทศที่ติดชายฝั่งทะเลทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก โดยมีชายฝั่งทะเลเป็นระยะทางประมาณ 2,400 กิโลเมตร ทำให้มีความได้เปรียบในการใช้ประโยชน์จากการขนส่งระหว่างประเทศด้วยทางทะเล โดยประเทศไทยมีท่าเรือหลักเพื่อการนำเข้าและส่งออกที่สำคัญอยู่ 5 ท่าเรือ ได้แก่ ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือสงขลา ท่าเรือภูเก็ต ท่าเรือมาบตาพุด ซึ่งทั้งหมดตั้งอยู่ในบริเวณอ่าวไทย ซึ่งไม่ใช่เส้นทางขนส่งหลักของไทย อีกทั้งประเทศไทยไม่มีท่าเรือขนาดใหญ่ริมชายฝั่งทะเลตะวันตก มีเพียงท่าเรือระนอง ซึ่งเป็นท่าเรือขนาดเล็ก จากการรายงานของGlobalCompetitivenessReportได้ จัดคุณภาพการให้บริการด้านโครงสร้างระบบท่าเรือของไทยอยู่ในลำดับที่ 29จาก 102 ประเทศ โดยมีคะแนน 4.9สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ 3.9โดย สิงคโปร์เป็นที่1

  9. การขนส่งทางทะเล (ต่อ) และเวียดนามอยู่ในลำดับ 7.6 ด้วยคะแนน 2.7ซึ่งหากเปรียบเทียบกับเวียดนามไทยก็มีภาษีดีกว่ามาก แต่การเป็น Logistics Hub ไทยไม่ควรไปอยู่ในแถวเดียวกับเวียดนาม นอกจากนี้สถาบัน IMD World Competitiveness ได้จัดทำ Year book 2004 ได้จัดชั้นการให้บริการขนส่งทางน้ำของไทยอยู่ในลำดับที่ 32 จาก 60 ประเทศ โดยได้คะแนน 6.07 ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยที่ 6.34 โดยมีสิงคโปร์อยู่ในลำดับที่ 1 ได้คะแนน 9.48มาเลเซียลำดับที่ 14 คะแนน 7.80 แสดงให้เห็นว่าในด้านโครงสร้างท่าเรือ (Sea Port) และการขนส่งทางทะเล ไทยยังห่างชั้นกับมาเลเซียแบบเทียบไม่ติด

  10. การขนส่งสินค้าทางเรือการขนส่งสินค้าทางเรือ • การขนส่งสินค้าทางทะเล ในประเทศไทยซึ่งปัจจุบันต้นทุนการขนส่งสินค้าของไทยมีอัตราสูงมาก ประเทศที่เจริญแล้วต้นทุนการขนส่งสินค้ามีค่าประมาณร้อยละ 5ของราคาสินค้า แต่ต้นทุนการขนส่งสินค้าของไทยมีค่าประมาณร้อยละ 10 ของราคาสินค้า และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าระวางของเรือคอนเทนเนอร์ ซึ่งถูกกำหนดโดยสายเดินเรือจากต่างชาติที่เข้ามาทำธุรกิจในประเทศไทย ซึ่งผู้ส่งออกและรัฐบาลไทยไม่มีอำนาจต่อรองกับสายเดินเรือต่างชาติได้ จึงทำให้ค่าระวางสินค้าในประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นซึ่งตรงกันข้ามกับค่าระวางบรรทุกสินค้าของโลกที่มีแนวโน้มลดลง ดังข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในรายงานฉบับเดียวกัน

  11. การขนส่งสินค้าทางเรือ (ต่อ)‏ • บทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทางทะเล ในการขนสินค้าโดยเรือเช่าเหมาลำ หรือการขนส่งสินค้าแบเทกอง ผู้ซื้อสินค้ามักจะซื้อสินค้าใน เทอม FOB และว่าจ้างเรือมาขนสินค้าเอง ซึ่งอาจเป็นการเช่าเรือกับเจ้าของเรือโดยตรงหรือติดต่อ กับสายเรือแล้วสายเรือเช่าเรือจากเจ้าของเรือมารับจ้างขนส่งอีกต่อหนึ่ง และโดยปกติจะไม่ติดต่อ ผ่านทางตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Freight forwarder) สายเดินเรือจะต้องมี ตัวแทนในประเทศต้นทางและปลายทางด้วยเสมอ เพื่อทำหน้าที่ให้บริการแก่นายเรือและลูกเรือ ตลอดจนการจัดการเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่างในการเดินเรือซึ่งมีความแตกต่างตามกฎหมายและ ประเพณีปฏิบัติของแต่ละประเทศ ตัวแทนเรือของเรือเช่าเหมาลำโดยปกติจะเป็นตัวแทนเรือที่ ให้บริการแก่สายเดินเรือแบบเช่าเหมาลำเท่านั้น

  12. การขนส่งสินค้าทางเรือ (ต่อ)‏ • บทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทางทะเล ในการขนส่งสินค้าโดยเรือคอนเทนเนอร์ เจ้าของเรือจะเป็นผู้เดินเรือและรับจ้างขนส่งสินค้าด้วยตนเอง เจ้าของเรือจะมีตัวแทนหรือสำนักงานสาขาของตนเองในแต่ละประเทศที่เรือของตนเข้าเทียบท่า เพื่อให้บริการแก่ผู้นำเข้าและผู้ส่งออก และให้บริการแก่นายเรือและลูกเรือ ตลอดจนการจัดการเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่างๆ ในการเดินเรือซึ่งมีความแตกต่างตามกฎหมายและประเพณีปฏิบัติของแต่ละประเทศ เช่นเดียวกับเรือเช่าเหมาลำแต่จะแตกต่างตรงที่ สายเดินเรือจะขายระวางบรรทุกให้แก่ตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Freight Forwarder) ด้วย ซึ่งแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ จะเป็นผู้ให้บริการที่อยู่ตรงกลางระหว่างผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก และได้ค่าตอบแทนเป็นค่าบริการ และผลต่างของค่าระวางที่แตกต่างกัน ซึ่งโดยปกติสายเดินเรือจะขายระวางสินค้าให้แก่ตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในราคาที่ต่ำกว่าขายให้แก่ผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก หรือขายในราคาขายส่งนั่นเอง

  13. การขนส่งสินค้าทางเรือการขนส่งสินค้าทางเรือ • รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเล การว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเลมีรูปแบบจำแนกตามลักษณะของเรือ เดินสมุทรและการใช้งาน ดังนี้ • - LINER TERM • - CHARTER TERM

  14. การขนส่งสินค้าทางเรือการขนส่งสินค้าทางเรือ • LINER TERM คือการว่าจ้างขนส่งสินค้าโดยเรือที่มีตารางเดินเรือที่วิ่งประจำเส้นทาง ซึ่งประกอบด้วย เรือ 3 แบบด้วยกันคือ 1. Conventional Vessel คือเรือบรรทุกสินค้าแบบอเนกประสงค์ดั้งเดิมทำการขนส่งสินค้าโดยการบรรทุกสินค้าลงในระวางเรือใหญ่ ส่วนใหญ่ใช้ในการขนสินค้าแบบเทกอง (Bulk Cargo) โดยมีเส้นทางเดินเรือแบบจากเมืองท่าต้นทางถึงเมืองท่าปลายทาง (End to end)‏ 2. Container Vessel คือเรือบรรทุกสินค้าที่ทำการขนส่งโดยระบบตู้คอนเทนเนอร์ โดยมีเส้นทางการเดินเรือแบบเครือข่าย (Network service) หรือเส้นทางเดินเรือแบบรอบโลก (Round the world service) โดยใช้เรือแม่ขนาดใหญ่ (Mother Vessel) วิ่งให้บริการเฉพาะเมืองท่าหลักที่เป็นฐานการให้บริการ เช่นเมืองท่า Singapore แล้วใช้เรือลูก (Feeder) ขนตู้คอนเทนเนอร์จากเมืองท่ารองหรือเมืองท่าปลายทาง เช่น ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือน้ำลักแหลมฉบัง

  15. การขนส่งสินค้าทางเรือการขนส่งสินค้าทางเรือ • LINER TERM (ต่อ)‏ 3. Semi container Vessel คือเรือสินค้าที่มีรูปแบบการขนส่งผสมผสานระหว่างเรือ Conventional กับเรือ Container กล่าวคือ เป็นเรือสินค้าที่สามารถบรรทุกสินค้าลงในระว่างส่วนหนึ่งและมีพื้นที่บนเรือที่จะวางตู้คอนเทนเนอร์ได้อีกส่วนหนึ่ง มักมีเส้นทางเดินเรือแบบเมืองท่าต้นทางถึงเมืองท่าปลายทาง

  16. ลักษณะพื้นฐานของเรือ(Craft characteristics)‏ • Single Deck Vessels เรือมีดาดฟ้าชั้นเดียว สินค้าประเภทเทกอง • Tween Deck Vessels มีหลายชั้น แบ่งประเภทของสินค้าที่บรรทุก • Shelter Deck Vessels มีดาดฟ้าอีกชั้นเหนือดาดฟ้าชั้นบนสุด มี 2 แบบ คือ แบบปิดหรือแบบเปิด

  17. Length (ft.)‏ Volume (ft3/m3)‏ Weight (kg)‏ /Empty loads 20 30 40 40(insulated)‏ 1,100 / 31 1,600 / 41 2,200 / 62 2,050 / 58 1,850 / 20,320 2,600 / 25,400 3,200 / 30,480 4,350 / 30,480 ตู้บรรจุสินค้า(Containers)‏ • ใช้สำหรับบรรจุสินค้าหรือวัสดุที่ต้องการขนส่งเพื่อป้องกันความเสียหายอันเกิดจากการขนส่ง เพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการเคลื่อนย้าย และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พื้นที่ขนส่ง

  18. ตัวอย่างตู้บรรจุสินค้าแบบต่างๆตัวอย่างตู้บรรจุสินค้าแบบต่างๆ

  19. ตัวอย่าง Conventional Vesselแบบที่1.

  20. แบบที่2

  21. ตัวอย่าง Container Vessel

  22. ตัวอย่าง Semi container Vessel

  23. การขนส่งสินค้าทางเรือการขนส่งสินค้าทางเรือ • CHARTER TERM คือการว่าจ้างขนส่งสินค้าโดยใช้เรือที่เช่าเพื่อขนส่งสินค้าเป็นเที่ยวๆ ซึ่งเป็นเรือ ที่ไม่มีตารางเดินเรือและไม่มีเส้นทางเป็นการตายตัว เรียกว่าการเช่าเรือ ซึ่งแบ่งการเช่าออกเป็น 4 ลักษณะด้วยกันคือ 1. Voyage Charter เป็นการเช่าเหมาเรือแบบเที่ยวเดียว ส่วนใหญ่เป็นการเช่าเหมาเรือทั้งลำ เพื่อขนส่งสินค้าจากท่าเรือแห่งหนึ่งไปยังท่าเรืออีกแห่งหนึ่ง การเดินเรือ ควบคุมเรือ ลูกเรือต่างๆ และค่าใช้จ่ายในการเดินเรือเป็นภาระของเจ้าของเรือที่จะต้องรับผิดชอบ ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงในสัญญาเช่าเหมาเรือที่ได้ทำกันไว้ระหว่างเจ้าของเรือกับผู้เช่าเรือ

  24. การขนส่งสินค้าทางเรือการขนส่งสินค้าทางเรือ • CHARTER TERM • 2.Bareboat Charter เป็นการเช่าเหมาเรือเฉพาะตัวเรือเปล่าๆ ไม่รวมนายเรือ (Master) และลูกเรือ (Crew) มักเป็นการเช่าเหมาเรือในระยะเวลาที่ยาวนาน เจ้าของเรือจะรับภาระเฉพาะการหาเรือมาให้แก่ผู้เช่าเรือ ส่วนค่าใช้จ่ายในการเดินเรือตลอดจนการทำให้เรือสามารถปฏิบัติงานได้เป็นภาระของผู้เช่าเรือ • 3.Hybrid Charter เป็นการเช่าเหมาเรือแบบผสมผสานกัน เช่น การเช่าเหมาเรือเที่ยวเดียวอย่างต่อเนื่องและการเช่าเหมาเรือที่ผสมผสานระหว่างการเช่าแบบเที่ยวเดียวและการเช่าแบบระยะเวลา เป็นต้น

  25. ตัวอย่าง Voyage Charter

  26. ตัวอย่าง Bareboat Charter

  27. ตัวอย่าง Hybrid Charter

  28. หัวข้อ LINER VESSEL CHARTER VESSEL ตารางเดินเรือ (Shipping Schedule)‏ มีตารางการเดินเรือที่แน่นอน ซึ่งเรือจะเข้าเทียบท่าตามวันเวลาที่กำหนด ไม่มีตารางการเดินเรือที่แน่นอน ค่าระวางเรือ (Freight Charge)‏ เจ้าของเรือเป็นผู้กำหนด คิดตาม หน่วย เช่น นน. ปริมาตร ผู้เช่าเรือเป็นผู้กำหนด เจ้าของเรือเรียกเก็บจากผู้เช่าเรือแบบเหมาลำหรืออัตราต่อวัน ผู้ว่าจ้าง ผู้นำเข้า หรือ ผู้ส่งออก ผู้เช่าเรือ ปริมาณการว่าจ้าง คิดตามปริมาตร หรือน้ำหนัก หรือจำนวนตู้ Container เหมาทั้งลำ หรือบางส่วนของเรือ ค่าเสียเวลา และค่าตอบแทน (Demurrage/ Dispatch)‏ มีเฉพาะ Demurrage ของการคืนตู้ช้า หรือเสียเวลาตู้ มีสัญญาว่าจ้าง (Charter Party) กำหนดอัตรา Demurrage/Dispatch money เส้นทางเดินเรือ มีกำหนดเส้นทางเดินเรือที่ตายตัว(เหมือนรถโดยสารประจำทางที่จอดตามป้าย)‏ ไม่มีตารางกำหนดเส้นทางเดินเรือ (เหมือนการเช่าเหมารถบัส หรือการว่าจ้างรถแท็กซี่)‏ การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ • ข้อแตกต่างระหว่าง LINER VESSEL กับ CHARTER VESSEL ข้อแตกต่างระหว่างการขนส่งสินค้าด้วยเรือที่มีตารางเดินเรือประจำและเช่า มีดังต่อไปนี้

  29. การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ • ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าทางทะเล • เจ้าของเรือ (Ship Owner)‏ • ผู้เช่าเรือ (Ship Charterer)‏ • ตัวแทนสายเดินเรือ และตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Shipping agent & Freight forwarder)‏ • ผู้ส่งสินค้า (Shipper or Exporter)‏ • ผู้รับตราส่ง (Consignee)‏ • ผู้รับสินค้า (Notify Party)‏

  30. ขั้นตอนการส่งออกทางเรือ โดยติดต่อผู้ให้บริการดังนี้ - Ship agent - Freight Forwarder

  31. ผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลและบทบาทหน้าที่ของผู้ให้บริการผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลและบทบาทหน้าที่ของผู้ให้บริการ 1. ตัวแทนสายเรือ Ship Agent 2. Freight Forwarder

  32. ตัวแทนสายเดินเรือ (Ship Agent)‏ ตัวแทนสายเดินเรือคือผู้รับมอบอำนาจจากเจ้าของเรือ ให้เป็นผู้ดำเนินการแทนเจ้าของเรือ ณ เมืองท่าต้นทางและเมืองท่าปลายทาง ตัวแทนสายเดินเรือมีหน้าที่โดยทั่วไป ดังต่อไปนี้1. จัดหาระวางบรรทุกให้แก่ผู้นำเข้าและผู้ส่งออก 2.ออกใบตราส่งสินค้าให้แก่ผู้ส่งออก3.ออกใบสั่งปล่อยสินค้าให้แก่ผู้นำเข้า โดยทั่วไปตัวแทน

  33. สายเดินเรือจะออกใบสั่งปล่อยสินค้าให้แก่ผู้นำเข้าเมื่อผู้นำเข้านำ ใบตราส่งสินค้าต้นฉบับไปมอบให้แก่ตัวแทนสายเดินเรือแต่ถ้าหากใบตราส่งสินค้าระบุมาจากต้นทางว่าเป็น Surrender Bill of Ladingแล้วตัวแทนสายเดินเรือจะออกใบสั่งปล่อยสินค้าให้แก่ผู้นำเข้าโดยที่ผู้นำเข้าไม่ต้องนำใบตราส่งสินค้าไปมอบให้แก่ตัวแทนสายเดินเรือ แต่ต้องออกหนังสือขอรับใบสั่งปล่อยไปมอบให้แก่ตัวแทนสายเดินเรือใบตราส่งสินค้าต้นฉบับ

  34. โดยแบ่งตามพื่นที่ให้บริการTrading zone service

  35. NORTH EUROPE

  36. WEST EUROPE

  37. WEST MEDITERRANEAN

  38. BLACK SEA

  39. INTRA ASIA

  40. MIDDLE EAST

  41. GULF PORT

  42. RED SEA

  43. SOUTH AFRICA

  44. USA WEST COAST

  45. USA EAST COAST

  46. INDO CHINA

  47. WORLD MAP

  48. TSA Member from asia to USA 1. APL Ltd.      2. Kawasaki Kisen Kaisha, Ltd. (K Line) 3. CMA-CGM      4. Mediterranean Shipping Co. 5. COSCO Container Lines, Ltd.    6. Mitsui O.S.K. Lines, Ltd. 7. Evergreen Line      8. Nippon Yusen Kaisha (N.Y.K. Line) 9. Hanjin Shipping Co., Ltd.    10. Orient Overseas Container Line, Ltd. 11. Hapag-Lloyd AG   12. Yangming Marine TransportCorp. 13. Hyundai Merchant Marine Co., Ltd.  14. Zim Integrated Shipping Services

More Related