1 / 36

แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมาย ปี 2547

แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมาย ปี 2547. เรื่อง. กระบวนการดำเนินงาน เมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ. โดย นายสุคนธ์ เจียสกุล. 30 ก.ย.2546 ศอ.12. 1 ต.ค.46 ศอ.5. 2. แผนปฎิบัติการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2547. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. GIS , IT , Accrual Basis. ลดอัตราป่วย / ตาย. สร้างสุขภาพ.

caia
Download Presentation

แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมาย ปี 2547

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมาย ปี 2547 เรื่อง กระบวนการดำเนินงาน เมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ โดย นายสุคนธ์ เจียสกุล 30 ก.ย.2546 ศอ.12 1 ต.ค.46 ศอ.5

  2. 2 แผนปฎิบัติการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2547 • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • GIS , IT , Accrual Basis • ลดอัตราป่วย / ตาย • สร้างสุขภาพ • หญิง : มะเร็ง หัวใจ เบาหวาน • ทั่วไป : อุบัติเหตุ เอดส์ • ไข้เลือดออก วัณโรค • ออกกำลังกาย • อาหารปลอดภัย • ตลาดสดน่าซื้อ ,CFGT • ยาเสพติด • ลดการติดยาซ้ำ

  3. 3 แผนปฎิบัติการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2547 • สิ่งแวดล้อม • ผลิตภัณฑ์สุขภาพ • ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ • สุขาน่าใช้ • เมืองไทยสะอาด • การประกันคุณภาพยาและอาหาร • 100 %GMP โรงงาน • ปรับพื้นฐาน Generic Name • เพิ่มคุณภาพยาในราคาที่เหมาะสม • สุขภาพจิต • เด็ก Autistic • คลินิกพัฒนาการ • To Be NO 1 • Friend Corner • การแพทย์แผนไทย • ก้าวไปอุตสาหกรรม • Medical Hurb of Asia

  4. 4 ตัวชี้วัด (KPIs) เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2547 (กรมอนามัย) ประชาชนมีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพและมีการจัดการ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพดี • เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 75 • ประชาชนอายุ > 6 ปี ออกกำลังกาย 30 นาที ร้อยละ 55 • โรงเรียนมีกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 80 • เทศบาลมีกระบวนการดำเนินงานเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ ร้อยละ 20 • ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน ร้อยละ 45 • ตลาดสดประเภทที่ 1 สะอาดได้มาตรฐาน ร้อยละ 20

  5. ’2535 5 เมืองน่าอยู่ และยั่งยืน ’2527 Agenda’21 WHO Sustainable Development Healthy City แผนฯ 8 เน้นดุลยภาพการพัฒนา กายภาพ - เศรษฐกิจ - สังคม - สิ่งแวดล้อม แผนฯ 9 • สร้างภาวะแวดล้อมที่น่าอยู่ • คุณภาพชีวิตและวิถีชีวิตที่ดี • ปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น • พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก • บริหารจัดการที่ดี / มีส่วนร่วม

  6. 6 OTTAWA CHARTER PHC Sustainable Development Healthy City (WHO) • Based upon a Commitment to health • Political decision making • Intersectional Action • Community Participation • Inmouation • Healthy Public Policy

  7. 7 เมืองน่าอยู่/ชุมชนน่าอยู่ สุขภาพดีถ้วนหน้า การส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาที่ยั่งยืน • ตระหนักถึงบทบาทภาคีต่างๆ • ชุมชนร่วมควบคุมปัจจัยที่กำหนด • สุขภาพ • ตระหนักปัจจัยสิ่งแวดล้อม • การใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม • คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด • ไม่เป็นปัญหาแก่อนาคต • บริการพื้นฐานที่จำเป็น • มุ่งป้องกัน • เทคโนโลยีเหมาะสม • ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน • ชุมชนมีส่วนร่วม • ความร่วมมือระหว่างสาขา กิจกรรม 5 ประการ ตามกฎบัตรออตาวา เศรษฐกิจ กรรมการ 1. สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 3. เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง 4. พัฒนาทักษะส่วนบุคคล 5. ปรับเปลี่ยนบริการสาธารณสุข การพัฒนาที่ยั่งยืน สังคม สิ่ง แวดล้อม กองทุน กิจการ

  8. 8 6. ด้านเชิดชูคุณธรรม 1. ด้านกายภาพ 5. ด้านความสงบ เรียบร้อย ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน บ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม 2. ด้านเศรษฐกิจ 4. ด้านการเมือง การปกครอง/การบริหาร 3. ด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม นโยบาย “บ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม” กระทรวงมหาดไทย

  9. 9 แผนฯ 9 เมืองน่าอยู่ชุมชนน่าอยู่ เป็นกระบวนการพัฒนาที่เป็นองค์รวม ยึดคนเป็นศูนย์กลาง อาศัยความเข้มแข็ง ของชุมชนเป็นรากฐาน ของการพัฒนา มุ่งให้เกิดความสงบ สะดวก ปลอดภัย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี วิถีชีวิตดี มีความสุขฯ

  10. สภาพแวดล้อมดี สังคมเข้มแข็ง มีเอกลักษณ์จิตวิญญาณของ เมืองและชุมชน คนมีคุณภาพชีวิตดี วิถีชีวิตดี มีความสุข สืบทอดรักษาใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต่อยอดเพื่อการผลิต สร้างกระบวนการเรียนรู้ มีภูมิคุ้มกัน ชุมชน เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบ โปร่งใส เป็นธรรม ไร้ทุจริต ตรวจสอบได้ ประชาชนมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนา เพิ่มรายได้ การมีงานทำ พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ สู่ตลาดภายใน/ตปท. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาเชื่อมโยงชนบท-เมือง องค์ประกอบของเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ ที่เชื่อมโยงกันในทุกมิติ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความน่าอยู่ มีระบบบริหารจัดการที่ดี เศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็ง 10

  11. ใหม่! ระบบสุขภาพ 11 เรื่อง สุขภาพ ภาครัฐ + องค์กรปกครองท้องถิ่น + ประชาชน เป็นภาระกิจร่วมกัน ไม่ใช่เรื่องของใครคนใดคนหนึ่ง รัฐ วางนโยบาย มาตรฐาน กฎเกณฑ์ ติดตาม กำกับ ดูแล สนับสนุนงบประมาณ / วิชาการฯ กระจาย อำนาจให้ องค์กรปกครอง ท้องถิ่น ดำเนินการให้ประชาชนในพื้นที่ มีสุขภาพดี ทุกคนมีหน้าที่สร้างเสริมสุขภาพตน / ครอบครัว ปกป้องสิ่งที่จะมากระทบต่อสุขภาพ รับผิดชอบไม่ก่อผลกระทบต่อสุขภาพผู้อื่น ประชาชน

  12. 12 การสร้างโอกาสให้มีการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจของพหุภาคี การสร้างนโยบายที่เอื้อต่อสุขภาพ การปรับเปลี่ยน บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานสุขภาพ การสร้างเสริม สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ต่อสุขภาพ พฤติกรรม สุขภาพ บริการ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม อื่นๆ การพัฒนา ทักษะ การเสริมสร้าง กิจกรรมในชุมชน การสร้างความตระหนักถึงปัจจัยการกำหนดสุขภาพและผลกระทบ “การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม : ในชุมชน 9 พ.ย.43

  13. 13 ปฏิรูป ระบบราชการ มุ่งผลสัมฤทธิ์ โลกาภิวัตน์ กระจายอำนาจ ความเร็ว ซับซ้อน แข่งขันสูง

  14. 14 โอกาส # นโยบายการกระจายอำนาจ # กระแสการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมในปัจจุบัน # การปฏิรูประบบราชการ # การบริหารราชการแบบผู้ว่า CEO จุดอ่อน เมืองน่าอยู่ จุดแข็ง # นโยบายชัดเจนตั้งแต่ ระดับชาติ ท้องถิ่น # ประชาชนตื่นตัว และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาท้องถิ่นมากขึ้น # ภาคีต่างๆ และองค์กร อิสระสนับสนุน กระบวนการขับ เคลื่อนเมืองน่าอยู่ # ยึดติดภารกิจหน่วยงาน เป็นตัวตั้ง ทำงานแบบ แยกส่วน ขาดการบูรณาการ # ขึ้นอยู่กับผู้บริหาร/ขาด ความต่อเนื่องในการ ดำเนินงาน # ขาดการเชื่อมโยงเป็น เครือข่าย ขาดพลังในการ ขับเคลื่อน # ขาดการติดตามประเมินผล การดำเนินงานทุกระดับ อุปสรรค # กระบวนทัศน์การทำงานภาคราชการ/ภาคชุมชน # การพัฒนาเมืองน่าอยู่ต้องการผู้นำการเปลี่ยนแปลง / การผลักดันที่มีพลัง # กระแสการพัฒนาเมืองน่าอยู่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง มีความซ้ำซ้อน เกิดความสับสนแก่ชุมชน /ไม่เกิดพลังการขับเคลื่อน # ความเป็นเมืองน่าอยู่แตกต่างกันตามศักยภาพ วัฒนธรรม และความต้องการของต่ละชุมชน มีความเป็นพลวัตร # ขาดตัวชี้วัดการพัฒนาที่เหมาะสมในภาพรวมและ แต่ละพื้นที่

  15. - ดุลยภาพเป้าหมายระดับชาติ / พื้นที่ - เสริมสร้างท้องถิ่น - กลไกประสานเครือข่าย - มาตรการจูงใจ 15 1. กระบวนการ/ความเชื่อมโยง ระหว่างนโยบายและยุทธศาสตร์รัฐกับการ มีส่วนร่วมในชุมชนและประชาสังคม • นโยบายสร้าง • สุขภาพ • โครงการเน้นหลัก • ผู้ว่าบูรณาการ • กระจายอำนาจ • SPBB 3. ถ่ายทอดเทคโนโลยี และสนับสนุนการ ดำเนินงาน 2. ศักยภาพการจัดการ เมืองน่าอยู่ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย เมืองน่าอยู่ - การสนับสนุน/เสริมความสามารถ ชุมชน - ศักยภาพท้องถิ่น - แผนสร้างสุขภาพ - ฐานข้อมูล 4. เสริมสร้างโอกาสการเรียนรู้ การจัดการปัญหาสุขภาพ ของครอบครัวและชุมชน • Healthy Setting • Healthy Lifestyle • เข้าถึงหลักประกันสุขภาพ - ศูนย์เด็กเล็ก - ศูนย์ CPU - เวทีประชาคม / สาธารณะ

  16. 16 • นโยบายสร้างสุขภาพ • กระจายอำนาจ ดุลยภาพระหว่าง นโยบายระดับชาติ/ท้องถิ่น • ผู้ว่าCEO • SPBB กระบวนการ เชื่อมโยงระหว่าง นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ของรัฐบาล 2. พัฒนาเครื่องมือ / วิธีการทำงาน สนับสนุนความ สามารถท้องถิ่น 4. มาตรการจูงใจ ให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น • ความพร้อมท้องถิ่น • ให้รางวัล 3. ประสาน/สนับสนุน เสริมสร้างแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างภาคี • การสื่อสาร • ระดับการพัฒนา • การเรียนรู้ • จัดลำดับเมือง • สร้างกลไกการเชื่อมโยง • สร้างเวทีแลกเปลี่ยน

  17. 5. จัดทำหลักสูตร /คัดเลือก ให้คำปรึกษา สนับสนุน / สร้างวิทยากร 17 1. จัดประชุมฯ ผู้นำ และภาคีเครือข่าย พัฒนาศักยภาพ ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและ ภาคีเครือข่าย 2. จัดเวทีเครือข่าย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. จัดทำฐานข้อมูล (City Health Profile) บริหารจัดการ 3. ทบทวนและปรับแผน ปฏิบัติการของเทศบาล และสนับสนุนการดำเนินงาน

  18. พัฒนาระบบ/ประเมินผล / ทำรายงาน • บูรณาการกิจกรรม/โครงการ 18 เพิ่มคุณค่าการสร้างสุขภาพ / ตระหนักและผลักดัน • สนับสนุนการดำเนินงาน • เทคโนโลยี/บุคลากร • ประชาสัมพันธ์ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และสนับสนุนสร้าง เสริมสุขภาพ • AIR WAR/GRAND WAR ปรับระบบเสริมความ สามารถภูมิภาค/ท้องถิ่น สร้างกระแสสังคมและ สุขภาพคนในเมือง/ชุมชน • รณรงค์โดยผู้นำประเทศ/ท้องถิ่น • ดำเนินงาน/สนับสนุนให้สอดคล้อง • กับความต้องการชุมชน • แลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียน

  19. เวทีแลกเปลี่ยน • เรียนรู้ของประชาชน • /เครือข่าย • ประสานการดำเนินงาน • กับชมรม/กลุ่มระดับ • ท้องถิ่น 1. สร้างกลไก/เครือข่าย ประสานและบูรณาการ 2. ส่งเสริมการเรียนรู้ของ ครอบครัวและชุมชนผ่าน สร้างโอกาสเรียนรู้/จัดการปัญหาสุขภาพครอบครัว/ชุมชน - ศูนย์สุขภาพชุมชน (PCU) - ศูนย์พัฒนาการ เด็กในชุมชน - เวทีประชาคมสุขภาพ /สถานที่ทำงาน / มุมเพื่อนใจวัยรุ่น/ สถานที่สาธารณะ • เสริมความสามารถของ • ศูนย์สุขภาพชุมชน • จัดบริการเชื่อมโยง • กิจกรรมชุมชน • ใช้ศูนย์เลี้ยงเด็กในชุมชน • เป็นเวทีเรียนรู้เรื่องสุขภาพ • และพัฒนาการเด็ก • เตรียมความพร้อมของครอบครัวใหม่ • /สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ • สรุป/ถอดบทเรียน/ขยายผลการดำเนินงาน • ในพื้นที่ ส้วมสาธารณะ/สวนฯ 19

  20. V กรมอนามัย 20 ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี ยึดคน องค์รวม 4 บทบาท /ภารกิจ เป็น แบบ ศูนย์กลาง การพัฒนา กลไกที่ทำให้ นโยบายฯ /การจัดการมี ประสิทธิภาพ องค์ ความรู้ ถ่ายทอด เทคโนโลยี สนับสนุนเสริม ความสามารถ วิธีการทำงาน 3 ลักษณะ ทำเอง ทำร่วม ร่วมทำ

  21. การสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน 21 กระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้ คนในชุมชนสามารถควบคุมปัจจัย ที่มีอิทธิพลและเป็นตัวกำหนดภาวะสุขภาพ เน้นการ เปลี่ยนแปลง วิถีชีวิตและพฤติกรรม # การสร้างเป้าหมายร่วมกัน เน้นการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม - การมีส่วนร่วม - ความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วม - เพิ่มกระบวนการเรียนรู้/ทักษะชีวิต - การสร้างพันธมิตรด้านสุขภาพ - การเพิ่มพลังชุมชน ลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ - กิน / เสพ - ออกกำลังกาย - พักผ่อน / เครียด สร้างปัจจัยเสริม - การสร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อสุขภาพ - สร้างความสัมพันธ์ของคน ในชุมชนและสิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรม เสริมสร้างสุขภาพ ในชุมชน

  22. นโยบายสร้างสุขภาพ ยุทธศาสตร์การบริหาร ของรัฐบาล 22 กระบวนการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ภายในชุมชน ความเข้มแข็ง ของชุมชนฐาน รากที่หลากหลาย โครงการกิจกรรม นโยบาย วิธีการแก้ปัญหา ที่หลากหลาย เหมาะสมสอดคล้อง กับกลุ่มเป้าหมาย ที่หลากหลายในพื้นที่ วิจัย + พัฒนา รูปแบบฯ สรุปบทเรียน ขยายผล จำแนกกลุ่มเป้าหมาย เป็นลักษณะกลุ่ม ประชากรและพื้นที่

  23. เมื่องน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ คนไทยแข็งแรง ประเทศไทยแข็งแรง 23 เมืองน่าอยู่ หมู่บ้าน/ชุมชนสุขภาพดี จะนะน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ? สงขลาน่าอยู่ หมู่บ้าน/ชุมชนสร้าง สุขภาพดี ชัยภูมิเมืองน่าอยู่ หมู่บ้าน/ชุมชน สุขภาพดี

  24. 24 Healthy Thailand ยุทธศาสตร์+ นโยบายรัฐบาล ปัญหา +ความ ต้องการในพื้นที่ การบริหารจัดการ เมืองน่าอยู่/หมู่บ้านชุมชนสุขภาพดี แผนฯสร้างสุขภาพชุมชน รัฐส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หมู่บ้าน /ชุมชนสร้าง สุขภาพ IT, GIS • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • สุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก • ออกกำลังกาย • มุมเพื่อนใจวัยรุ่น • โรงเรียนพ่อ/แม่ • ที่อยู่อาศัย/ทำงาน NGO’S เอกชน • สิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ เครือข่ายชมรมฯ • บ้าน / ศูนย์เลี้ยงเด็ก/โรงเรียน • /โรงพยาบาล/ที่ทำงาน • / สถานบริการ/ร้านอาหาร • /ตลาด /ที่สาธารณะ • /สวน/ส้วม ชมรม ชมรม ชมรม ชมรม

  25. 25 กระบวนการชุมชน การดำเนินการ โครงการ กิจกรรม การพัฒนาฯ การประเมิน ศักยภาพของ ชุมชน การเรียนรู้ ผลการพัฒนา ของชุมชน กำหนดวิสัยทัศน์ แนวคิด ค่านิยมหลัก และจุดมุ่งหมาย การพัฒนา กำหนดกลยุทธ์ ในการพัฒนา ของชุมชน การเตรียมชุมชนในการ พัฒนาที่เป็นองค์รวม โดยมีคนเป็นศูนย์กลาง การประเมิน ศักยภาพของ ชุมชน แบบมีส่วนร่วม 7 ขั้นตอน

  26. เมืองน่าอยู่ หมู่บ้าน-ชุมชน สุขภาพดี 26 ประชาชน การพัฒนาแบบองค์รวม เข้าถึงหลัก ประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า ที่อยู่อาศัย /ทำงานใน สิ่งแวดล้อมดี ยึดคนเป็นศูนย์กลาง พฤติกรรม วิถีชีวิต ความเชื่อมโยงและเกื้อกูลกันระหว่างยุทธศาสตร์-นโยบายสำคัญ ของรัฐกับปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ • รวมกลุ่มภาคีเครือข่ายสุขภาพ • ประเมินศักยภาพเมือง-ชุมชน • กำหนดวิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมายการพัฒนา • แผนสร้างสุขภาพของชุมชน • การปฏิบัติการตามแผนฯ • การติดตาม-ประเมินผล • การเรียนรู้- ผลการพัฒนา

  27. การบริหารจัดการภารกิจองค์กรการบริหารจัดการภารกิจองค์กร 27 กลาง/ภูมิภาค ทำเอง องค์ความรู้ เพียง ร่วมทำ ทำร่วม กลไก ถ่ายทอด เทคโนโลยี กลไก ทำร่วม เพียง ร่วมทำ ทำเอง สนับสนุน ท้องถิ่น

  28. VISION 28 Dream Drive Define ACTION MISSION

  29. 29 Principle Practical

  30. 30 วางแผนกลยุทธ์ การจัดการเชิงกลยุทธ์ ?

  31. 31 ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ เป้าหมาย ตัวชี้วัด เชิงคุณภาพ ผลกระทบ (ภายนอก) ตัวชี้วัด เชิงเวลา การประเมินผล ผลผลิต เป้าประสงค์ มิติ นวตกรรม ผลลัพธ์ มิติ ภายในองค์กร เงื่อนไข ความสำเร็จ มิติ การเงิน (ภายใน) มิติ ผู้รับบริการ

  32. เมืองสุขภาพดี 32 Health Cities มีชีวิต - มีการเปลี่ยนแปลง เป็นทั้งกระบวนการ และผลลัพธ์ของการพัฒนา - มีเกิด - เติบโต - พัฒนาการ - รุ่งเรือง - เสื่อม - ล่มสลาย เมือง เมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ มีตัวตน - ความรู้สึก อารมณ์ - จิตวิญญาณ ชุมชน เป็นกลยุทธ / โครงการ ที่ยึดเมือง/ชุมชนเป็นเป้าหมายของการ พัฒนาแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วม ของภาคีต่างๆ และประชาชน เพื่อพัฒนา สุขภาพและความอยู่ดี มีสุขของคน ในเมืองและชุมชน ความเกี่ยวข้อง และปฏิสัมพันธ์ ของคนและสถานที่ อย่างเป็นระบบ

  33. 2 3 ขั้นตอนการดำเนินงานเมืองน่าอยู่ / ชุมชนน่าอยู่ 33 เริ่มจากความรู้สึก - จิตใจ - ความตระหนัก รู้สึกว่าอยากได้อะไร วิสัยทัศน์ / เป้าหมาย 1 ดำเนินการอย่างเป็นกระบวนการ หาแนวร่วม - ทบทวนแนวคิด พิจารณาเรื่องที่จะทำ นำพาชุมชน ค้นหาทุน หนุนเป็นระยะๆ ชนะ - ชนะทุกฝ่าย ก้าวสู่การเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ ของเมือง / ชุมชน ตัวชี้วัด

  34. 34 ปัญหาของเมืองมีความสลับซับซ้อน ยากที่ใครคนใดคนหนึ่งหรือจะใช้วิธีใด วิธีเดียวแก้ปัญหาหรือพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ได้ การสร้างความเห็น และความรับผิดชอบร่วมกัน • สร้างโอกาสให้กลุ่มคนพบปะพูดคุย สร้างสรรค์สิ่งดีงามให้ชุมชน • สร้างอนาคตเมือง / ชุมชน ร่วมกัน • กลุ่ม - องค์กรไม่ยึดติด / ห่วงผลประโยชน์ตน • สร้างความเกี่ยวพัน เพิ่มสำนึกความรับผิดชอบร่วม เมืองน่าอยู่อยุธยา

  35. 35 เมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ ทุนเมือง เป้าหมาย การทำงานร่วมกัน ปัจจัย - เงื่อนไข ยุทธวิธีที่เหมาะสม ความคิดที่แยบยล ปฎิบัติการที่แยบคาย ทำอย่างต่อเนื่อง

  36. สัญลักษณ์เพื่อเพิ่มคุณค่าสัญลักษณ์เพื่อเพิ่มคุณค่า 36 โครงการ...เมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ คนไทยแข็งแรง ประเทศไทยแข็งแรง

More Related