360 likes | 629 Views
รายงานประจำปี 2547. ผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน Junior Science Talent Project (JSTP). สรุปจำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ปี 2541-2548. มัธยมศึกษาตอนต้น. มัธยมศึกษาตอนตลาย/ป.ตรี. รวมจำนวนผู้สมัคร ม.ต้น 3,938 คน ม.ปลาย/ป.ตรี
E N D
รายงานประจำปี 2547 ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน Junior Science Talent Project (JSTP)
สรุปจำนวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ปี 2541-2548 มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนตลาย/ป.ตรี รวมจำนวนผู้สมัครม.ต้น 3,938 คน ม.ปลาย/ป.ตรี 3,838 คน รวมจำนวนทั้งหมด 7,776 คน
ส่วนที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อยู่ในโครงการเป็นรายปี) • จัดค่ายวิทยาศาสตร์ จำนวน10 ครั้ง โดยแบ่งเป็น มัธยมศึกษาตอนต้น 5 ครั้ง และมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปริญญาตรี จำนวน5 ครั้ง • สนับสนุนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ รุ่นที่ 7 จำนวน90 โครงงาน • จัดสัมมนา บรรยายพิเศษ และอภิปราย จำนวน 13 ครั้ง
ส่วนที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้มีอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (อยู่ในโครงการระยะยาว) การคัดเลือกและสนับสนุนเด็กและเยาวชนผู้มีอัจฉริยภาพฯ จำนวน80 คน การส่งเสริมการทำวิจัยระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย การส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น
ส่วนที่ 3 กิจกรรมอื่นๆ จัดกิจกรรมพาตัวแทนเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ ไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 2 ครั้ง จัดนิทรรศการ จำนวน 5 ครั้ง จัดทำหนังสือ และเอกสารส่งเสริมเยาวชนทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 2 เรื่อง ได้แก่ สนุกวิทย์ , แล้วคุณจะรักบังกะลอร์
แผนผังกิจกรรมการดำเนินกิจกรรมโครงการแผนผังกิจกรรมการดำเนินกิจกรรมโครงการ เข้าร่วมกิจกรรมระยะสั้น 1 ปี จำนวนผู้เข้าร่วม 100 คน / ปี กิจกรรมการพัฒนาส่งเสริมเด็ก ผู้มีความสามารถพิเศษ ค่ายวิทยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ คัดเลือกผู้มีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ เข้าโครงการระยะยาว เข้าร่วมโครงการระยะยาวจนจบปริญญาเอกคัดเลือกเข้าร่วม 10 คน / ปี กิจกรรมการพัฒนาส่งเสริมเด็ก ผู้มีอัจฉริยภาพ สนับสนุนทุนการศึกษา สนับสนุนการทำวิจัย ฝึกอบรมนักวิจัยคุณภาพ จบปริญญาเอก
การคัดเลือกและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษการคัดเลือกและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ Talented& Gifted child
ในช่วง เดือนมีนาคม 2547 – เมษายน 2548 โครงการได้จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ จำนวน 10 ครั้ง ดังนี้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 5 ครั้ง
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กิจกรรม รายละเอียด กิจกรรมทางด้านระบบนิเวศวิทยา เช่น การท่องป่าชายเลน , การทดลอง OTOP ปลาแห้ง , Rally ป่าชายเลน , เยี่ยมชมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและเยี่ยมชมห้องทดลองสาหร่าย ทำให้เยาวชนได้รับความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลน กับระบบนิเวศวิทยาและได้พัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วันที่ 29 มีนาคม – 3 เมษายน 2547 สถานที่ : ม.บูรพา จ.ชลบุรี รุ่นที่ 6 ครั้งที่ 3
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กิจกรรม รายละเอียด ฟังบรรยายและทำกิจกรรม นาโนเทคโนโลยี , เทคโนโลยีชีวภาพและการทดลอง Bouncing Ball , กิจกรรมเหนี่ยวแรงสู่ฟ้าถลาร่อนลม,กิจกรรมดูดาว และสร้างกล้องดูดวงอาทิตย์ , สร้างแบบจำลองวงโคจรของดาวศุกร์และโลก วันที่ 10 – 14 พฤษภาคม 2547 สถานที่ : มจธ.และหอดูดาวเกิดแก้ว รุ่นที่ 7 ครั้งที่ 1
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กิจกรรม รายละเอียด ฟังบรรยายเรื่อง “การเรียนรู้กับการทำงานของสมอง” และกิจกรรมLearning Institute บรรยายและศึกษาวัฒนธรรมทวารวดี , กิจกรรมการทดลองการผลิตปูนขาวและปูนแดง , บรรยายและทดลองเรื่องเตาหุงต้ม วันที่ 18 - 24 ตุลาคม 2547 สถานที่ : มจธ. วิทยาเขตบางขุนเทียน และม.ราชภัฎหมูบ้านจอมบึง จ.ชลบุรีรุ่นที่ 7 ครั้งที่ 2
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กิจกรรม รายละเอียด กิจกรรมอาบผ้าไหมโดยพลาสมา , การบรรยายเรื่องจักรวาล , กิจกรรมบรรยายและสาธิตศิลปะดนตรีกับความเป็นอัจฉริยภาพ , ศึกษาสภาพป่าดอยอินทนนท์กิจกรรมทัศนศึกษาวัดเชียงมั่นและพิพิธภัณฑ์เรือนโบราณ วันที่ 8 – 15 พฤษภาคม 2548 สถานที่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่นที่ 7 ครั้งที่ 3
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กิจกรรม รายละเอียด กิจกรรมบรรยายเรื่อง Ecology เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ Ecology และมีกิจกรรมการเพาะกล้วยไม้ , บรรยายเรื่องเล่าชีวิตหมอสัตว์ วันที่ 2 – 7 เมษายน 2547 สถานที่ : มจธ.และสวนสัตว์เปิดเขาเขียว จ.ชลบุรี รุ่นที่ 6 ครั้งที่ 3
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปริญญาตรี จำนวน 5 ครั้ง
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปริญญาตรี กิจกรรม รายละเอียด ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน เกษตรทฤษฎีใหม่ , โรงสีข้าวชุมชน การเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชังศูนย์การศึกษาตามแนวพระราชดำริ อ่าวคุ้งกระเบน วันที่ 18 – 21 มีนาคม 2547 สถานที่ : มศว. ศูนย์ศึกษาตาแนวพระราชดำริ อ่าวคุ้งกระเบน จ.จันทบุรีและสถานีประมงทะเล บ้านเพ ระยอง รุ่นที่ 6 ครั้งที่ 3
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปริญญาตรี กิจกรรม รายละเอียด วันที่ 6 – 15 พฤษภาคม 2547 สถานที่ : อุทยานวิทยาศาสตร์ /อพวช. และห้องปฎิบัติการนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง รุ่นที่ 7 ครั้งที่ 1 กิจกรรมพี่เล่าสู่น้อง และจัดแรลลี่เสาะหาคลังมหาสมบัติความรู้ในอุทยานวิทยาศาสตร์ , ทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ณ อพวช. ,ฝึกทักษะทางวิทยาศาตร์ ณ ห้องปฎิบัติการวิจัยของนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปริญญาตรี กิจกรรม รายละเอียด เด็กและเยาวชนเข้ามาฝึกวิจัยและทำโครงงานวิทยาศาสตร์ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยง วันที่ 1 -31 ตุลาคม 2547 สถานที่ : อุทยานวิทยาศาสตร์ /และห้องปฎิบัติการนักวิทยาศาสตร์พี่เลี้ยง รุ่นที่ 7 ครั้งที่ 2
ตัวอย่างกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปริญญาตรี กิจกรรม รายละเอียด ทัศนศึกษาโครงการศึกษาวิจัย และพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยจ.เพชรบุรี , ศึกษานกป่าชายเลนและศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน วนอุทยานปราณบุรี , กิจกรรม ณอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเล้าณ หว้ากอ วันที่ 27 -31 มีนาคม 2548 สถานที่ : มศว.ประสานมิตร /โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย / หว้ากอศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย รุ่นที่ 7 ครั้งที่ 4
โครงงานวิทยาศาสตร์ระยะสั้นโครงงานวิทยาศาสตร์ระยะสั้น ในช่วง เดือนมีนาคม 2547 – เมษายน 2548 ได้มีการส่งเสริม การทำโครงงานสำหรับเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษ 1 รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ 7 จำนวน 90 โครงงาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ รวม รุ่นที่ 7 2 52 3 37 32 111 - 45 79 16 3 59 74 16 5 34 - 34 22 6 - 3 - 1 - 2 2 2 ชีวฟิสิกส์ 1 1 ฟิสิกส์เคมี 3 3 นวัตกรรม 1 1 เทคโนโลยีวัสดุ รวม 72 64 87 84 80 84 90 560
ตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษ การเสวนากับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล Prof.kurt Wuethrich บรรยายเรื่อง "Structures of the molecules of life-Impact on modern biomedical research" วันที่ 14 และ 16 ธันวาคม 2547 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทยและโรงแรมสยามซิตี้
ตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษ การเสวนากับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล Prof.Yuan T. Lee บรรยายเรื่อง "Science, technology and peace on earth" วันที่ 15 ธันวาคม 2547 ณ โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส
ตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษตัวอย่างกิจกรรมบรรยายพิเศษ การเสวนากับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล Prof.Jean-Marie บรรยายเรื่อง "From matter to Life : Chemistry" วันที่ 15 ธันวาคม 2547 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทยและโรงแรมดุสิตธานี
จัดกิจกรรมค่ายอบรมเยาวชนในโครงการฯ ระยะยาว ครั้งที่ 5 กิจกรรมชุมนุม สมาชิก JSTP ระหว่างวันที่ 4 - 8 พฤษภาคม 2548 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย และไร่ชัชนาถ จังหวัดเลย
การส่งเสริมและพัฒนาผู้มีอัจฉริยภาพการส่งเสริมและพัฒนาผู้มีอัจฉริยภาพ
การคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงานการคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงาน • สาขาวิศวกรรมศาสตร์ • นายสุรัฐ ขวัญเมือง นักศึกษาปริญญาตรีปีที่ 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำงานวิจัยด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ฅได้รับรางวัลชนะเลิศในการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย ครั้งที่ 2 และได้เป็นตัวแทนประเทศไทยไปแข่งฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์โลก (Robo Cup 2004) ณ ประเทศโปรตุเกส • ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ.2547
การคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงานการคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงาน สาขาคอมพิวเตอร์ นายทวีธรรม ลิมปานุภาพ โครงงานเรื่อง “การเพิ่มความปลอดภัยของระบบผ่านด้วยการตรวจสอบจังหวะการพิมพ์” ได้รับรางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศในการประกวดการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (YSC.CS) และวิศวกรรมศาสตร์ (YSC.EN) ประจำปี 2546 และได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนไปประกวดโครงงานในงาน Intel International Science and Engineering Fair ( Intel ISEF 2004 ) ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างวันที่ 9-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 นายณัฎฐ์ ปิยะปราโมทย์ โครงงานเรื่อง “การลดขนาดของไฟล์ภาพเคลื่อนไหวมุมกล้องนิ่งด้วยการประมวลผลและจดจำภาพเฉพาะบางส่วน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ในการประกวดการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (YSC.CS) และวิศวกรรมศาสตร์ (YSC.EN) ประจำปี 2546 และได้รับคัดเลือกเข้าร่วมสังเกตการณ์ในงาน Intel International Science and Engineering Fair ( Intel ISEF 2004 ) ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างวันที่ 9-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
การคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงานการคัดเลือกและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร์และผลงาน สาขาคณิตศาสตร์ นายจารุพล สถิรพงษะสุทธิ และนายณัฐดนัย ปุณณะนิธิ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้ทำโครงงานเรื่อง “คลื่นการเดินของกิ้งกือ” และได้รับรางวัลชนะเลิศในโครงงานวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2546 ซึ่งจัดโดยสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นตัวแทนประเทศไทย ไปแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ในงาน Intel International Science and Engineering Fair ( Intel ISEF 2004 ) ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาในระหว่างวันที่ 9-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
สนับสนุนผู้แทนเยาวชนในโครงการฯ ไปดูงานต่างประเทศ 1 ครั้ง นายกร ทัพพะรังสี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และผู้บริหาร สวทช. นำตัวแทน นักศึกษาในโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน จำนวน 12 คน ไปดูงาน “Bangalore Bio 2004” ที่เมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย รวมทั้งได้เข้าชม การทำงาน ของบริษัทอินโฟซิสบริษัทชั้นนำแห่งวงการซอฟต์แวร์โลก ตามคำเชิญของนายนารายันมูราติ ประธาน บริษัทอินโฟซิส ที่ปรึกษาด้าน ไอที ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ร่วมค่าย APEC ณ ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 16-26 สิงหาคม 2547 ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการและพลเรือน จัดคัดเลือก ตัวแทนเยาวชนไทย จำนวน 10 คน และร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ณ ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 16-26 สิงหาคม 2547
จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ภายในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 15-18 กรกฎาคม 2547 จากกิจกรรมดังกล่าว มีเยาวชนในโครงการฯ จำนวน 5 คน ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนไปร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ณ ประเทศเกาหลีใต้ ในระหว่างวันที่ 16-26 สิงหาคม 2547 ดังรายชื่อ 1.นายชานนทร์ ศรพิพัฒน์พงศ์ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 2.นายกิตติพงศ์ คำสุข มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง 3.ดช. ฐาปกรณ์ โตมีชัย มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) 2 4.ดญ.อติพร เทอดโยธิน มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน 5.ดช.ชัชชนก ชูสวัสดิ์ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสุราษฏร์ธานี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงเสด็จทอดพระเนตร โครงงานวิทยาศาสตร์ของเยาวชนในโครงการ JSTP ในงาน "สัปดาห์วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2547”ระหว่างวันที่ 19 – 23 ตุลาคม 2547
ครบรอบ 7 ปี โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน โครงงาน Robocup 2004 โดย นายสุรัฐ ขวัญเมือง การหาโครงสร้าง 3 มิติของเอนไซม์โดยวิธีผลึกเอ็กซเรย์ โดย นาวสาวดวงฤดี ธารลำลึก การทำลำโพงจากกระดาษฟอยด์ โดย นายสิทธิพงษ์ มะโนธรรม เม็ดสีจากแบคทีเรียโบราณ-เม็ดสีต่อต้านอนุมูลอิสระ โดย นายทิฐิวัฒน์ เมชฌ
การจัดกิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2548 วันที่ 8 มกราคม 2548 ณ ทำเนียบรัฐบาล กิจกรรมในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2548 ภายใต้หัวข้อ "สุดยอดเยาวชนคนเก่งโลกวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในวันที่ 8 มกราคม 2548 ที่ผ่านมา ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
การจัดทำรายงานและหนังสือเผยแพร่ จำนวน 2 เล่ม
จบการนำเสนอ ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชน Junior Science Talent Project (JSTP)