1 / 22

แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมายสำคัญในปี 2547

แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมายสำคัญในปี 2547. เรื่อง. อาหารสะอาด รสชาดอร่อยและตลาดสดน่าซื้อ. โดย. นายสุคนธ์ เจียสกุล. 30 กันยายน 2546. 2. แผนปฎิบัติการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2547. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. GIS , IT , Accrual Basis. ลดอัตราป่วย / ตาย. สร้างสุขภาพ.

kiefer
Download Presentation

แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมายสำคัญในปี 2547

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานและเป้าหมายสำคัญในปี 2547 เรื่อง อาหารสะอาด รสชาดอร่อยและตลาดสดน่าซื้อ โดย นายสุคนธ์ เจียสกุล 30 กันยายน 2546

  2. 2 แผนปฎิบัติการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2547 • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • GIS , IT , Accrual Basis • ลดอัตราป่วย / ตาย • สร้างสุขภาพ • หญิง : มะเร็ง หัวใจ เบาหวาน • ทั่วไป : อุบัติเหตุ เอดส์ • ไข้เลือดออก วัณโรค • ออกกำลังกาย • อาหารปลอดภัย • ตลาดสดน่าซื้อ ,CFGT • ยาเสพติด • ลดการติดยาซ้ำ

  3. 3 แผนปฎิบัติการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2547 • สิ่งแวดล้อม • ผลิตภัณฑ์สุขภาพ • ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ • สุขาน่าใช้ • เมืองไทยสะอาด • การประกันคุณภาพยาและอาหาร • 100 %GMP โรงงาน • ปรับพื้นฐาน Generic Name • เพิ่มคุณภาพยาในราคาที่เหมาะสม • สุขภาพจิต • เด็ก Autistic • คลินิกพัฒนาการ • To Be NO 1 • Friend Corner • การแพทย์แผนไทย • ก้าวไปอุตสาหกรรม • Medical Hurb of Asia

  4. 4 เป้าหมายสำคัญของกรมอนามัย ปี 2547 • การสนับสนุนนโยบายอาหารปลอดภัย • การปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน ร้อยละ 45 • การส่งเสริมให้สถานที่จำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน “Clean Food • Good Taste” ร้อยละ 25 • การพัฒนาตลาดสด ให้เป็น “ตลาดสดน่าซื้อ” ร้อยละ 20 • ผลักดันให้เกิด “ชมรมผู้ประกอบการค้า” ทุกจังหวัด • รณรงค์เผยแพร่ “CFGT” ในงานเทศกาล / งานประเพณี • ของจังหวัดต่างๆ ในแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ

  5. 5 แผนยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหาร

  6. 6 วัตถุประสงค์ อาหารที่ผลิต และบริโภคในประเทศ มีความปลอดภัย ได้มาตรฐาน ทัดเทียมกับสากล นำไปสู่การเป็นครัวอาหารของโลก

  7. 7 ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 1. ด้านการพัฒนา มาตรฐาน กฎหมายให้เป็นสากล 2. ด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัย 3. ด้านการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค 4. ด้านการพัฒนาบุคลากรและ กระบวนการ 5. ด้านการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ

  8. 8 ตัวชี้วัดและเป้าหมาย 1. การตรวจสอบอาหาร 1.1 อาหารสด อาหารแปรรูป อาหารปรุงจำหน่าย 1.2 ตรวจสอบบอแรกซ์ ยาฆ่าแมลง สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา สารฟอร์มาลิน สารเร่งเนื้อแดง จุลินทรีย์ คลอแรมเฟนิคอล ไนโตรฟูแรน 2. การตรวจสอบสถานประกอบการ ด่านนำเข้า สถานที่เพาะเลี้ยง เพาะปลูก สถานที่ฆ่าสัตว์ สถานที่จำหน่ายอาหาร ตลาดสด ซุปเปอร์มาร์เกต ร้านขายอาหาร สถานที่จำหน่ายยา และเภสัชเคมีภัณฑ์

  9. 9 ระยะเวลาดำเนินการ ระยะที่ 1 : 1 เมษายน 2546 –31 ธันวาคม 2546 เพื่อรณรงค์และเร่งรัดดำเนินการให้อาหารปลอดภัย ระยะที่ 2 : 1 มกราคม 2547 - 31 ธันวาคม 2547 เพื่อดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

  10. 10 สถานการณ์สารปนเปื้อนในอาหารสด ทั้งประเทศ ( ส.ค. 2546) สารเร่งเนื้อแดง ร้อยละที่พบ 13.83 จำนวนที่ตรวจ 1,620 ตัวอย่าง บอแรกซ์ จำนวนที่ตรวจ 7,866 ตัวอย่าง ร้อยละที่พบ 1.18 สารฟอกขาว ร้อยละที่พบ 1.95 จำนวนที่ตรวจ 6,318 ตัวอย่าง

  11. 11 สถานการณ์สารปนเปื้อนในอาหารสด ทั้งประเทศ (ส.ค. 2546) (ต่อ) ฟอร์มาลิน ร้อยละที่พบ 1.30 จำนวนที่ตรวจ 3,073 ตัวอย่าง ยาฆ่าแมลง จำนวนที่ตรวจ 4,790 ตัวอย่าง ร้อยละที่พบ 5.26

  12. 12

  13. 13

  14. 14 ผลการดำเนินงานตลาดสดน่าซื้อ 2546 ตลาดสดประเภทที่ 1 ทั้งหมด เข้าร่วมโครงการ ร้อยละของ ผ่านการรับรอง ร้อยละของ ความครอบคลุม จำนวนที่เข้า ร่วมโครงการ (แห่ง) (แห่ง) (แห่ง) 1,502 731 48.67 33 4.51

  15. 15 ผลการดำเนินงาน Clean Food Good Taste (4 ก.ค. 2546) ศูนย์อนามัยที่ จำนวนทั้งสิ้น ได้รับป้าย CFG (ร้าน + แผง) ร้าน +แผง (แห่ง) % (เทียบกับจำนวนทั้งหมด) 1 9,520 22.91 2 4,818 24.18 3 11,294 19.08 4 5,451 30.56 5 3,328 30.05 6 7,547 27.18 7 10,080 11.03 8 4,292 26.91 9 3,116 24.81 10 9,609 9.21 11 7,231 24.91 12 10,391 3.55 กทม. 23,036 3.93 รวมทั้งประเทศ 110,253 15.63 รวมศูนย์ฯ 1-12 87,217 18.73

  16. 16

  17. 17 จำนวนที่ได้ป้ายCFGTปี2546(กองสุขภิบาลอาหาร) ข้อมูลถึงเดือนเมษายน 2546

  18. การจัดการฯ ระบบความปลอดภัยอาหาร 18 เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ ปัญหากับท้องถิ่น ปรับแก้กฏ ระเบียบให้เอื้อ ใช้โรงเรียน/ โรงพยาบาลเป็น ชมรมนำร่อง ผู้ประกอบการ ตลาดรับผิดชอบคุณภาพอาหารจริงจัง การจัดการสื่อ และกระบวนการ เรียนรู้ ทำให้ป้าย Clean Food Good Taste เป็นสัญลักษณ์คุณภาพ กำกับดูแลคุณภาพ ความปลอดภัยขณะขนส่ง

  19. 19 ภารกิจที่ท้าทายของการจัดระบบความปลอดภัยอาหาร 1. การเชื่อมโยงและเกื้อกูลระบบบริหารผู้ว่า CEO กับเรื่องอาหาร • ระบบความปลอดภัยอาหารในวาระสำคัญของผู้ว่า CEO • เชื่อมส่งต่อข้อมูลฯ ให้คณะที่ปรึกษา (คลื่นสมองจังหวัด) • พัฒนารูปแบบระบบฐานข้อมูลและตัวชี้วัด 2. ใช้โรงเรียน / โรงพยาบาลและชมรมผู้ประกอบการค้าอาหารใน ท้องถิ่นเป็นพื้นที่นำร่อง 3. การจัดระเบียบการขออนุญาตระบบการตรวจสอบของท้องถิ่น 4. การพัฒนาระบบการบังคับใช้กฎหมาย

  20. 20 ภารกิจที่ท้าทายของการจัดระบบความปลอดภัยอาหาร (ต่อ) 5. ผู้จำหน่ายอาหารต้องรับผิดชอบคุณภาพอาหาร 6. การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการตลาดสดในการควบคุม คุณภาพอาหาร 7. ทำสัญญลักษณ์ CFGT เป็นเครื่องหมายคุณภาพแท้จริง 8. ยุทธศาสตร์การจัดการสื่อและการเรียนรู้

  21. 21

  22. 22 จำนวนที่ได้ป้ายCFGTปี2546(กองสุขภิบาลอาหาร) ข้อมูลถึงเดือนเมษายน 2546

More Related