1 / 13

การจัดทำแผนกลยุทธ์ นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556)

ข้อสังเกตจาก. การจัดทำแผนกลยุทธ์ นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556). โดย ดร. กิติพงค์ พร้อมวงค์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 5 กรกฏาคม 2547. กรอบนโยบาย ฯ.

yovela
Download Presentation

การจัดทำแผนกลยุทธ์ นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อสังเกตจาก การจัดทำแผนกลยุทธ์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556) โดย ดร. กิติพงค์ พร้อมวงค์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 5 กรกฏาคม 2547

  2. กรอบนโยบายฯ ในภาพรวม - ต่อยอดจากกรอบนโยบายแผนกลยุทธ์ ว และ ท แห่งชาติ ซึ่งผ่านการอนุมัติให้ความเห็นชอบโดย ครม. เมื่อ 10 ก.พ. 47 วิสัยทัศน์: ประเทศไทยมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง เป็นสังคมความรู้ที่แข่งขันได้ในสากล มีความมั่นคง และประชาชนมีชีวิตที่ดี การแข่งขันที่ยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชน สังคมเรียนรู้ คุณภาพชีวิต/สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสาขาหลัก ระบบ นวัตกรรม แห่งชาติ (คลัสเตอร์) ทรัพยากร มนุษย์เข้มแข็ง 1) วัสดุนาโน 2) นาโนอิเล็กทรอนิกส์ 3) เทคโนโลยีนาโนชีวภาพ KBS สภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย ความสามารถใน เทคโนโลยี สาขาหลัก เป้าหมายหลัก: • ประเทศไทยจะผลิตผลิตภัณฑ์ที่ใช้นาโนเทคโนโลยีคิดเป็นร้อยละ 1 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (มูลค่าเฉลี่ยประมาณ 120,000 ล้านบาท) • ประเทศไทยสามารถยกระดับสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของคนไทยให้อยู่ในระดับมาตรฐานโลก โดยการพัฒนาวัสดุ อุปกรณ์ และระบบที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์และสุขภาพด้วยนาโนเทคโนโลยี • ประเทศไทยจะอยู่ในระดับแกนนำของการศึกษาและวิจัยด้านนาโนเทคโนโลยีของภูมิภาคอาเซียน เป้าหมายหลัก–ครอบคลุม 3 มิติ มิติเศรษฐกิจ– เป็นตัวเลขชัดเจน มิติสังคม– เป้าหมายเชิงคุณภาพ หาตัวชี้วัดความสำเร็จที่ชัดเจนยาก มิติองค์ความรู้– กล้าๆ กลัวๆ วิสัยทัศน์–เหมือนแผนกลยุทธ์ ว และท และกรอบนโยบายเทคโนฯ ชีวภาพ (ยึดถือวิสัยทัศน์ของรัฐบาลซึ่งเน้นการพัฒนา 4 ด้านคือ การแข่งขันระยะยาว สังคมเรียนรู้ ความเข้มแข็งเศรษฐกิจชุมชน และการยกระดับคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม)

  3. กรอบแผนเทคโนฯชีวภาพ เป้าที่ 1 พัฒนาธุรกิจชีวภาพสมัยใหม่ เกษตร/อาหาร สุขภาพ/การแพทย์ พลังงาน/สวล สินค้าชุมชน เป้าที่ 6 พัฒนากำลังคน เป้าที่ 3 เป้าที่ 2 เป้าที่ 4 เป้าที่ 5 การจัดวาง ยุทธศาสตร์ กรอบแผนนาโนฯ ผลักดันนาโนเทคฯ หนุนการพัฒนาคลัสเตอร์เป้าหมาย กลยุทธ์ที่ 1 อาหาร ยานยนต์ อิเล็ก ทรอนิกส์ สิ่งทอ/ เคมี OTOP พลังงาน/ สวล สุขภาพ/ การแพทย์ พัฒนากำลังคน กลยุทธ์ที่ 2 ลุงทุนวิจัยและพัฒนา กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ 4 สร้างความตระหนัก กลยุทธ์ที่ 5

  4. สังคม เศรษฐกิจ คลัสเตอร์เป้าหมาย พลังงานและ สิ่งแวดล้อม สุขภาพและ การแพทย์ สิ่งทอ เคมี/ปิโตรเคมี ยานยนต์ OTOP อาหาร และเกษตร อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มผลิตภัณฑ์เป้าหมาย ระบบนำส่งยา และสารสกัด สมุนไพรนาโน วัสดุดูดซับ/กรอง และตัวเร่ง ปฏิกิริยา อุปกรณ์นาโน อิเล็กทรอนิกส์ วัสดุเคลือบ นาโน วัสดุสาร ประกอบแต่ง เซ็นเซอร์ พื้นฐานทางวิชาการ วัสดุนาโน เทคโนโลยีชีวภาพนาโน นาโนอิเล็กทรอนิกส์ ฟิสิกส์ เคมี ชีวเคมี นาโนแมคาทรอนิกส์ นาโนแฟบริเคชั่น ปรากฏการณ์ทางควอนตัม ออปโตอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจัยเกื้อหนุน โครงสร้างพื้นฐาน ตระหนักและตื่นตัว กำลังคน วิจัยและพัฒนา กรอบแผนกลยุทธ์นาโนเทคโนโลยี

  5. กลยุทธ์ที่1 :ผลักดันนาโนเทคโนโลยีเข้าหนุนการพัฒนาคลัสเตอร์เป้าหมาย มาตรการสำคัญ แนวทางปฏิบัติ • “นำนาโนเทคโนโลยีเข้าหนุนคลัสเตอร์เป้าหมายโดยสร้างความร่วมมือและเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้มีบทบาทสำคัญ” • เป้าหมาย • มีบริษัทที่ใช้ความรู้ด้านนาโนเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตอย่างสำคัญ(ระดับต้นน้ำ) ในประเทศไม่ต่ำกว่า50 บริษัท • มีบริษัทที่ใช้วัสดุนาโนขั้นปฐมภูมิเป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าและบริการ (ระดับกลางน้ำ) เกิดขึ้นไม่ต่ำกว่า250 บริษัท • ผลักดันให้นาโนเทคโนโลยีมีบทบาทที่ชัดเจนในการเพิ่มมูลค่าในคลัสเตอร์เป้าหมาย (ระดับปลายน้ำ) ใน7 อุตสาหกรรมหลัก • พัฒนาอุทยานนาโนเทคโนโลยี • จัดตั้งคณะทำงานร่วมทางด้านนาโนเทคโนโลยีในคลัสเตอร์เป้าหมาย • ชักนำการลงทุนจากต่างประเทศ • ร่วมลงทุนกับบริษัทด้านนาโนเทคโนโลยีในต่างประเทศ • ปรับปรุงมาตรการด้านการเงินการคลังกฎระเบียบและบริการสาธารณูปโภค • สร้างกลไกเชื่อมโยงอุตสาหกรรมต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำ • ส่งเสริมอุตสาหกรรมนาโนเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดดโดยการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ • สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างธุรกิจใหม่

  6. กลยุทธ์ที่2 :พัฒนากำลังคนด้านนาโนเทคโนโลยี มาตรการสำคัญ แนวทางปฏิบัติ • “เร่งพัฒนากำลังคนให้ได้ถึงระดับที่เป็นมวลวิกฤตกล่าวคือมากพอที่จะสามารถทำวิจัยและพัฒนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่องจนสามารถแข่งขันได้ในระดับภูมิภาคอาเซียน” • เป้าหมาย • ประเทศไทยเป็นแกนนำทางด้านการศึกษาด้านนาโนเทคโนโลยีของอาเซียน • พัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เพียงพอสำหรับการพัฒนานาโนเทคโนโลยีของประเทศไทยทั้งในระดับวิจัยและพัฒนาและการผลิตในอุตสาหกรรมโดยมีบุคลากรวิจัยไม่ต่ำกว่า2,000 คนและบุคลากรสนับสนุนไม่ต่ำกว่า 500 คน • ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีบุคลากรความรู้จากต่างประเทศมาเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยในประเทศไทย • จัดให้มีหลักสูตรนาโนเทคโนโลยีระดับอุดมและบัณฑิตศึกษา • ให้สถาบันวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถให้ปริญญาระดับปริญญาโทและเอกได้ • ส่งเสริมองค์กรวิจัยในประเทศไทยรับนักวิจัยต่างประเทศมาทำวิจัยหลังปริญญาเอกทางด้านนาโนเทคโนโลยี • จัดให้มีหลักสูตรฝึกอบรมด้านนาโนเทคโนโลยีและการบำรุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องมือแก่บุคลากรทุกระดับ • เร่งสร้างบุคลากร “ตัวคุณ” • ส่งเสริมการเรียนการสอนด้านนาโนเทคโนโลยี • ส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศพัฒนาบุคลากร • ยกระดับความรู้บุคลากรในภาคอุตสาหกรรม

  7. กลยุทธ์ที่3 : ลงทุนวิจัยและพัฒนาด้านนาโนเทคโนโลยี มาตรการสำคัญ แนวทางปฏิบัติ • “ลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมและการสะสมองค์ความรู้ของประเทศรวมทั้งพัฒนาศักยภาพของบุคลากร” • เป้าหมาย • ให้มีการลงทุนในการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนกระทั่งมีการลงทุนอย่างน้อย12,000 ล้านบาทในปีที่10 โดยมีสัดส่วนในการลงทุนจากภาคเอกชนไม่ต่ำกว่าร้อยละ30 • จำนวนสิทธิบัตรรวมไม่น้อยกว่า300 สิทธิบัตรใน10 ปีและมีจำนวนผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการตีพิมพ์ไม่น้อยกว่า1,000 ฉบับต่อปีในปีที่10 • กำหนดสัดส่วนการลงทุนทางด้านวิจัยและพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมเป้าหมาย • ส่งเสริมการตีพิมพ์วารสารวิชาการทั้งในและต่างประเทศรวมทั้งให้ทุนสนับสนุนการเสนองานที่ได้รับการตีพิมพ์ในต่างประเทศและค่าจดสิทธิบัตร • พัฒนาโครงการวิจัยขนาดใหญ่โดยใช้โครงการที่เป็นวาระแห่งชาติเป็นฐาน • ประกาศความตั้งใจนโยบายและวงเงินลงทุนวิจัยและพัฒนาด้านนาโนเทคโนโลยีรวมทั้งสนับสนุนการจดสิทธิบัตรและการตีพิมพ์วารสารวิชาการทั้งในและต่างประเทศ • ใช้ตลาดภาครัฐผลักดันให้เกิดการวิจัยและพัฒนา

  8. กลยุทธ์ที่4 : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านนาโนเทคโนโลยี แนวทางปฏิบัติ มาตรการสำคัญ • “พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งด้านกายภาพเช่นเครื่องมือห้องปฏิบัติการองค์กรหรือสถาบันต่างๆและด้านนโยบายเช่นกฎระเบียบแรงจูงใจ” • เป้าหมาย • มีโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่จำเป็นอย่างเพียงพอและมีระบบการบริหารจัดการการให้บริการและการบำรุงรักษาที่มีประสิทธิภาพและมาตรฐาน • จัดตั้งเครือข่ายห้องปฏิบัติ การและเครื่องมือกลางด้าน นาโนเทคโนโลยี • จัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับ การบำรุงรักษาห้องปฏิบัติ การเครื่องมือและอุปกรณ์ อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง • จัดให้มีมาตรฐานการคัด เลือกสนับสนุนทุนและ ประเมินผลศูนย์แห่งความ เป็นเลิศ • จัดตั้งหน่วยบ่มเพาะ นวัตกรรมนาโนเทคโนโลยี • พัฒนาขีดความสามารถการ บริการห้องปฏิบัติการและ เครื่องมือ • พัฒนาศูนย์แห่งความเป็นเลิศ ทางนาโนเทคโนโลยีในสาขา เฉพาะ • สร้างกลไกขยายผลการวิจัย และพัฒนาด้านนาโน เทคโนโลยีไปสู่การใช้ ประโยชน์เชิงพาณิชย์

  9. กลยุทธ์ที่5 : สร้างความตระหนักในความสำคัญของนาโนเทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง • “จัดกลไกการสื่อสารกับสาธารณะที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดแรงสนับสนุนจากสาธารณชนในการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่” • เป้าหมาย • สาธารณชนมีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของนาโนเทคโนโลยีอย่างกว้างขวาง มาตรการสำคัญ แนวทางปฏิบัติ • จัดให้มีการสื่อสารและให้การศึกษาเกี่ยวกับนาโนเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง • จัดให้มีการประกวดสิ่งประดิษฐ์ทางด้านนาโนเทคโนโลยีในกลุ่มเยาวชน • จัดตั้งคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อดูแลด้านความปลอดภัยและจริยธรรมของนาโนเทคโนโลยี • พัฒนาระบบความปลอดภัยของนาโนเทคโนโลยี • ส่งเสริมการสื่อสารและให้การศึกษาแก่สังคมหลายทาง • ให้ความรู้และสร้างกลไกดูแลความปลอดภัยและจริยธรรมของนาโนเทคโนโลยี

  10. คณะอนุกรรมการด้านต่างๆ กลไกการบริหารจากนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ระดับ นโยบาย คณะรัฐมนตรี รายงาน รับนโยบาย คณะกรรมการนโยบายนาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน) รายงาน รับนโยบาย ระดับ ผลักดันแผน สำนักงานเลขานุการ (ศูนย์นาโนฯ) รับนโยบาย รายงาน ระดับ ปฏิบัติ คณะทำงานเฉพาะกิจ

  11. โครงสร้างการบริหารแผนกลยุทธ์นาโนเทคโนโลยีโครงสร้างการบริหารแผนกลยุทธ์นาโนเทคโนโลยี คณะกรรมการนโยบายนาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สำนักงานเลขานุการ (ศูนย์นาโนฯ) อนุกรรมการ เสริมสร้างความตระหนัก อนุกรรมการ พัฒนาคลัสเตอร์ อนุกรรมการ ควบคุมดูแลและประเมินผล อนุกรรมการ พัฒนากำลังคน อนุกรรมการ ความปลอดภัยและจริยธรรม อนุกรรมการ วิจัยและพัฒนา อนุกรรมการ โครงสร้างพื้นฐาน

  12. International Collaboration e.g. Government Agencies ITRI TAIWAN AIST JAPAN NSF USA KAIST S. KOREA NSTDA Foreign Universities e.g. TIT, Osaka Univ., Kyoto Univ., Caltech, UCLA, Stanford, MIT, Berkeley, etc. NANOTEC MTEC NECTEC BIOTEC National Universities e.g. CU, MU, KU, CMU, KKU, KMITL, KMUTT, SIIT, AIT, etc. Domestic and Foreign Private Industries e.g. Corporations, SMEs, Start-ups ความร่วมมือระหว่างองค์กรต่างๆภายในประเทศและระหว่างประเทศ CSIRO Australia

  13. Salesman & Customer ว และ ท ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ (ผู้นำเสนอ) ดร. ชาตรี ศรีไพพรรณ (steering) ดร. กอปร กฤตยากีรณ (steering) STAIR – ดร. ชาตรี/ดร. ญาดา (เลขานุการ) เทคโนฯชีวภาพ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ (ผู้นำเสนอ) ดร. มรกต ตันติเจริญ (ผู้นำเสนอ) ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน์ (ผู้นำเสนอ) ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ (กล่าวนำ) ดร. มาลี สุวรรณอัตถ์ (steering) นพ. ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ (steering) BIOTEC Policy Group– คุณอุทัยวรรรณ/ดร. นเรศ (ทีมเลขานุการ) นาโน ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ (ผู้นำเสนอ) ดร. ชาตรี ศรีไพพรรณ (steering) ดร. กอปร กฤตยากีรณ (steering) ดร. ธีระชัย พรสินศิริรักษ์ (เลขานุการ) กนทช. กนนท. กนวท. T.C. T.C. S.K. -> T.C.

More Related