240 likes | 380 Views
การจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม การทุจริต ประจำปีงบประมาณ 2553 สำหรับจังหวัดนครราชสีมา. วิกฤตของชาติจากปัญหาทุจริต. CPI. 3.8. สังคมไทย. 3.4. ความคิด/ทัศนคติของประชาชนต่อการทุจริต สส. / สว. หน่วยงานที่ถูกระบุว่ามีการทุจริต 11 หน่วยงาน. สถานการณ์ การทุจริตภาครัฐในปัจจุบัน.
E N D
การจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประจำปีงบประมาณ 2553สำหรับจังหวัดนครราชสีมา
วิกฤตของชาติจากปัญหาทุจริตวิกฤตของชาติจากปัญหาทุจริต CPI 3.8 สังคมไทย 3.4
ความคิด/ทัศนคติของประชาชนต่อการทุจริตความคิด/ทัศนคติของประชาชนต่อการทุจริต สส. / สว. หน่วยงานที่ถูกระบุว่ามีการทุจริต 11 หน่วยงาน สถานการณ์ การทุจริตภาครัฐในปัจจุบัน ความรุนแรงของปัญหารุนแรงกว่ายาเสพติด 4 – 5 เท่า ลำดับ CPI ของประเทศไทย 15 ปีที่ผ่านมา ยังอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการทุจริตสูง
ตารางแสดง ดรรชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศไทยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 – 2552 ที่มา:วิเคราะห์ข้อมูลจาก http://www.transparency.org/
สถานการณ์ การทุจริตภาครัฐในปัจจุบัน • สำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ (ป.ป.ท.) ได้รายงานสถานการณ์การทุจริตคอร์รัปชั่นของภาครัฐ ตั้งแต่ปี 2551-2552 ว่ามีแนวโน้มการทุจริตมากขึ้น เห็นได้จากหน่วยงานภาครัฐได้รับการร้องเรียนจากประชาชน กล่าวหาเจ้าหน้าที่รัฐกระทำการทุจริตมากขึ้น โดยปี 2551 มีเรื่องร้องเรียน 15,348 เรื่อง แต่ปี 2552 เพิ่มเป็น 21,399 เรื่อง นอกจากนี้มุมมองจากต่างประเทศที่มีการวัดระดับดัชนีความโปร่งใส ปรากฏว่า 2551 ประเทศไทยมีดัชนีวัดความโปร่งใสอยู่ที่ 3.50 และในปี 2552 อยู่ที่ 3.40 ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
มติ ครม. มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 • นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามทุจริตภาครัฐ โดยที่ประชุมเห็นชอบมาตรการป้องกันการทุจริต 6 มาตรการคือ
มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • 1. สร้างจิตสำนึกให้สังคมไทยร่วมใจต้านภัยทุจริต • 2. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังให้ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงต่อการคอร์รัปชั่น • 3. สร้างกลไกรองรับเรื่องร้องเรียน และกำหนดมาตรการตรวจสอบการปฏิบัติต่อข้อร้องเรียนของประชาชน
มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • 4. สำรวจสถานการณ์การทุจริตและจัดอันดับความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐและจังหวัดต่าง ๆ • 5. ยกระดับมาตรฐานหน่วยงานของรัฐเพื่อก้าวสู่องค์กรแห่งความโปร่งใส • 6. สร้างกลไกคุ้มครองนักลงทุนและผู้ประกอบการต่างชาติจากการทุจริตคอร์รัปชั่น
มติ ครม. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯในภาครัฐ การร้องเรียนทุจริตภาครัฐ มติ ครม.
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต วิสัยทัศน์ ปี 2553 : ปีแห่งคุณธรรมความโปร่งใส
ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (น้ำหนัก : ร้อยละ 5) ขั้นตอนการดำเนินการในระดับจังหวัด ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะการจัดทำแผนฯ ขั้นตอนที่ 4 การตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการตามแผน/การสำรวจความเห็นของประชาชนต่อสถานการณ์การทุจริต ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ปีงบประมาณ 2553 ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนแผน วิเคราะห์แผน/วิเคราะห์ความเสี่ยงโครงการ/วิเคราะห์ข้อร้องเรียน
ขยาย เครือข่าย กลไกองค์กรเข้มแข็ง ยุทธศาสตร์ชาติ ปลูกจิตสำนึก สร้างมืออาชีพ สังคมรู้เท่าทัน
บูรณาการหน่วยงาน เสริมสร้างความเข้มแข็ง แผน ปปท. 4ปี จ.นม. เสริมสร้างจิตสำนึก พัฒนาศักยภาพ จนท.ของรัฐ
การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง หน่วยงานที่รับได้งบประมาณจังหวัดสูงสุด 3ลำดับแรกในปีงบประมาณ 2553 จัดทำรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง 1.โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 2.โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 3. โครงกาอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ
ข้อเสนอแนะ โครงการ/กิจกรรม ปีงบประมาณ 2553 การรณรงค์กับประชาชนทั่วไป ยุทธศาสตร์ ที่ 1เสริมสร้างจิตสำนึก การรณรงค์กับเยาวชน การรณรงค์กับข้าราชการ พนักงานภายในองค์กร การสนับสนุนกิจกรรมภายในองค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการหน่วยงานในการป้องกันการทุจริต การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังการทุจริต - ภาคประชาชน - ภาครัฐ - ภาคสื่อมวลชน - ภาคธุรกิจ - ภาคเยาวชน
เสริมช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนเสริมช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน ให้หลากหลาย และเข้าถึงสะดวก สร้างระบบการตรวจสอบข้อเท็จจริงที่ รวดเร็วและมีมาตรฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 3การเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง มีมาตรการตรวจสอบและคุ้มครองการทำงานของเจ้าหน้าที่ มาตรการในการลงโทษ การคุ้มครองผู้ให้ข้อมูลข่าวสาร
การจัดทำมาตรฐาน หลักสูตรการฝึกอบรม ยุทธศาสตร์ที่ 4การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ของรัฐ การส่งเจ้าหน้าที่รับการฝึกอบรม การติดตามประเมินผล ผู้ผ่านการฝึกอบรม การพัฒนาระบบการจูงใจ
โครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยโครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 1 การฝึกอบรมหลักสูตรปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/การปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล/ปฏิบัติตามมาตรฐานคุณธรรม จริยธรรม 1. จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 2. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่รัฐ/ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันปราบปรามการทุจริต และการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล มาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม และการป้องกันปราบปรามการทุจริต 2. ส่งเสริมพัฒนาช่องทางรับเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน และแจ้งเบาะแสการทุจริต 3, การจัดกิจกรรมคัดเลือกข้าราชการประพฤติดี มีความซื่อสัตย์ ข้อมูลจาก สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมที่ดิน กรมพัฒนาชุมชน
โครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยโครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 1. สร้างเครือข่ายภาคประชาชน/ราชการ ในการเฝ้าระวังการทุจริต 1. การสนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมอบรมหลักสูตรด้านการป้องกันปราบปรามการทุจริต 2 การสนับสนุนให้ภาคประชาชนเข้ามาตรวจสอบการปฏิบัติงาน 2. การจัดทำจรรยาข้าราชการ 3. การนำระบบการควบคุมภายในมาใช้ในการปฏิบัติงาน 4. การพัฒนาระบบงานการตรวจสอบข้อเท็จจริง 5. การปรับปรุง กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ข้อมูลจาก สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมที่ดิน กรมพัฒนาชุมชน
ตัวอย่างแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ตัวอย่างรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ตัวอย่างรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ขอเชิญแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และซักถามข้อสงสัย