110 likes | 272 Views
นโยบายการเตรียมความพร้อมเกษตรกรไทย เพื่อก้าวไปสู่ AEC. โดย นาง นารีณัฐ รุณ ภัย รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economics Community: AEC). ประโยชน์ที่จะได้รับ. อุปสรรคทางการค้าทางด้านภาษีหมดไป
E N D
นโยบายการเตรียมความพร้อมเกษตรกรไทยนโยบายการเตรียมความพร้อมเกษตรกรไทย เพื่อก้าวไปสู่ AEC โดย นางนารีณัฐรุณภัย รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) ประโยชน์ที่จะได้รับ • อุปสรรคทางการค้าทางด้านภาษีหมดไป • ตลาดสินค้าใหญ่ขึ้น จากจำนวนประชากรในอาเซียนที่รวมกันประมาณ 570 ล้านคน • เป็นฐานการผลิตร่วม เพื่อการส่งออก • ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคจะสะดวกและถูกลง
มาตรการเตรียมพร้อมที่จะรุกและรับมือ AEC มาตรการเชิงรับ มาตรการเชิงรุก ป้องกัน ปราบปราม ปกป้องพิเศษ ปรับเปลี่ยน ปรับปรุง -กำหนดผู้นำเข้า -กำหนดคุณสมบัติ -มีใบรับรอง -มาตรการ SPS -รับรองแหล่งกำเนิด -กำหนดด่านนำเข้า -กำหนดช่วงเวลานำเข้าฯลฯ ประสิทธิภาพ คุณภาพ ภาพลักษณ์สินค้า
มาตรการเชิงรับ • 1. มาตรการป้องกัน (Border Measure)โดยการจัดระบบการบริการการนำเข้า • กำหนดให้ผู้เข้าต้องจดทะเบียนและขออนุญาตการนำเข้า • กำหนดคุณสมบัติและวัตถุประสงค์ของการนำเข้า • ต้องมีใบรับรองปลอดสารพิษตกค้าง ใบรับรองปลอด GMO • ใช้มาตรการ SPS อย่างเข้มงวด • ต้องมีใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า • กำหนดด่านนำเข้า (ที่มีเครื่องมือและบุคลากรพร้อม) • กำหนดช่วงเวลาการนำเข้า • ต้องรายงานการนำเข้า การใช้ การจำหน่ายและสต๊อก • กำหนดชนิดของสินค้าที่นำเข้า • เก็บค่าธรรมเนียมการตรวจสินค้านำเข้า เพื่อเป็นกองทุนในการพัฒนาการผลิต • จัดทำระบบข้อมูลติดตามเฝ้าระหว่างการนำเข้า
มาตรการเชิงรับ • ตัวอย่างการกำหนดมาตรการ โดยการจัดระบบการบริการการนำเข้า • ปาล์มน้ำมัน อนุญาตให้ อคส. เป็นผู้นำเข้าเพียงรายเดียว • กระเทียม หอมหัวใหญ่ เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ และมันฝรั่ง • - มีการกำหนดช่วงเวลาการนำเข้า โดยกระเทียมให้นำเข้าในช่วง กค.-ตค. ของทุกปี หอมหัวใหญ่ สค.-ตค. ของทุกปี • - มีหนังสือรับรองถิ่นกำเนิด (ATIGA FORM D) • - กำหนดด่านนำเข้าที่มีด่านตรวจพืช อาหาร และยา • กาแฟสำเร็จรูป • - การนำเข้าต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการ • - ผู้นำเข้าต้องขึ้นทะเบียนกับกรมการค้าต่างประเทศ
มาตรการเชิงรับ 2. มาตรการปราบปราม (Internal Measure) กรณีที่เกิดมีการลักลอบเข้ามาในประเทศอย่างผิดกฎหมายแล้ว ต้องมีการปราบปราม หรือบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังเพื่อมิให้มีการนำเข้ามาอีกสำหรับสินค้าเกษตรแล้วการตรวจพิสูจน์คุณลักษณะของสินค้า (วัตถุดิบ) ที่นำเข้าจากต่างประเทศทำได้ยากมากเพราะมักจะมีคุณลักษณะใกล้เคียงกัน 3. มาตรการปกป้องพิเศษ (Special Safeguard) เป็นการเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ เมื่อมีการนำเข้าจำนวนมากจนทำให้เกิดผลกระทบต่อการผลิตภายในประเทศ
มาตรการเชิงรุก - เปลี่ยนอาชีพ - ผลิตสินค้าที่มีศักยภาพ ปรับเปลี่ยน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คุณภาพผลผลิต ปรับปรุง ภาพลักษณ์ของสินค้า
นโยบายการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันนโยบายการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ภายใต้แผนพัฒนาการเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต การจัดการสินค้าเกษตร และความมั่นคงอาหาร พัฒนาการผลิตและการสร้างมูลค่าเพิ่ม ส่งเสริมการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างการผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นพืชอาหารและพลังงานให้เกิดความมั่งคง สนับสนุนการพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร สร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาคและระหว่างประเทศ ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยด้านการเกษตร
ยุทธศาสตร์การเกษตรต่างประเทศ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ด้านพัฒนาศักยภาพด้านข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรต่างประเทศ • เพื่อเตรียมมาตรการเชิงรุกและเชิงรับ • เพื่อเข้าถึงข้อมูลเชิงลึก เช่น เส้นทางการกระจายสินค้า รสนิยมของผู้บริโภค • ของต่างประเทศ • เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลสำหรับสนับสนุนงานด้านการเกษตรต่างประเทศ เป้าหมาย มีกลไกการติดตามข้อมูลข่าวสารด้านการเกษตรต่างประเทศ เพื่อศึกษา วิเคราะห์เผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายรับทราบอย่างต่อเนื่อง พร้อมมีมาตรการเชิงรุก และมาตรการเชิงรับในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ฉับไว และทันต่อเหตุการณ์
ยุทธศาสตร์การเกษตรต่างประเทศ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ด้านพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ • เพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีด้านการเกษตร • แก่ภูมิภาคต่างๆ • เพื่อเพิ่มความร่วมมือกับต่างประเทศในการศึกษา วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ • ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เป้าหมาย พัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศในการศึกษา วิจัย พัฒนา ถ่ายทอด องค์ความรู้เกี่ยวกับการเกษตรในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ทั้งในฐานะประเทศผู้ให้ ผู้รับ และความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา
ยุทธศาสตร์การเกษตรต่างประเทศ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ด้านพัฒนาการบริหารจัดการด้านการเกษตรต่างประเทศของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ • เพื่อพัฒนาบุคลากรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทั้งด้านภาษา ด้านวิชาการ • และเทคนิคการเจรจาให้พร้อมสำหรับการปฏิบัติงานด้านการเกษตรต่างประเทศ เป้าหมาย บุคลากรและระบบการบริหารจัดการด้านการเกษตรต่างประเทศมีประสิทธิภาพมากขึ้น