1 / 21

โดย นายพินิจ กอศรีพร รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 7 ธันวาคม 2547

FTA: ประเทศไทยจะได้อะไร. โดย นายพินิจ กอศรีพร รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 7 ธันวาคม 2547. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA). มีวัตถุประสงค์เพื่อลด/เลิก อุปสรรค ทางการค้า ทั้งด้านภาษีและมิใช่ภาษี ให้เหลือน้อยที่สุดหรือหมดไป

ciaran-lang
Download Presentation

โดย นายพินิจ กอศรีพร รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 7 ธันวาคม 2547

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. FTA: ประเทศไทยจะได้อะไร โดย นายพินิจ กอศรีพร รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 7 ธันวาคม 2547

  2. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อลด/เลิก อุปสรรคทางการค้า ทั้งด้านภาษีและมิใช่ภาษี ให้เหลือน้อยที่สุดหรือหมดไป ครอบคลุมการค้าสินค้า การบริการ การลงทุน และความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่นๆ โอกาสและผลกระทบจากFTA โอกาส:เพิ่มมูลค่าการค้าและการลงทุนระหว่างกัน ผลกระทบ:กระทบต่อการผลิตสินค้าภายในประเทศที่มี ศักยภาพต่ำกว่าประเทศคู่เจรจา

  3. ประเด็นสำหรับการเจรจา FTA แรงผลักดัน ความคืบหน้าของ WTOค่อนข้างช้า สถานการณ์การแข่งขันด้านการค้าของโลกเพิ่มขึ้น ความต้องการหาพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง ประเด็นเจรจา: ด้านการค้าสินค้าเกษตร ความสอดคล้องกับข้อตกลง WTO การเจรจาด้านมาตรการภาษีและมาตรการมิใช่ภาษี • การกำหนดท่าทีการลดภาษีของสินค้าเกษตรแต่ละรายการ • การจัดทำ MRA, IRA, PRA ของสินค้าเกษตรบางรายการ

  4. โครงสร้างภาษี(สินค้าเกษตร)โครงสร้างภาษี(สินค้าเกษตร) ไทย:0-60% อินเดีย:0-100%, 182%ญี่ปุ่น:0-40% ,ตามสภาพ จีน:0-71%อเมริกา:0-35% ออสเตรเลีย:0-5%เปรู:4-20% นิวซีแลนด์:0-7%บาห์เรน:0-5%, 125% ไทยเก็บภาษีค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับคู่เจรจา ยกเว้น อินเดีย มาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี คู่เจรจาโดยเฉพาะประเทศพัฒนาแล้ว เข้มงวดด้านมาตรการ SPS ซึ่งเป็นอุปสรรคที่สำคัญต่อการนำเข้าสินค้าเกษตร

  5. FTA ของไทยกับคู่เจรจาที่สำคัญ (กรณีสินค้าเกษตร ตอนที่ 01-24)

  6. การค้าสินค้าเกษตรไทย-จีนการค้าสินค้าเกษตรไทย-จีน • สถานการณ์การค้า (เฉลี่ยปี 44-46) • - มูลค่าการค้าสินค้าเกษตร 25,070 ล้านบาท • - ไทยส่งออก 17,089 ล้านบาท • - ไทยนำเข้า 7,981 ล้านบาท • - ดุลการค้าของไทย + 9,968 ล้านบาท • สินค้าส่งออกของไทย • มันสำปะหลัง ข้าวหอมมะลิ ลำไยแห้ง ปลาแช่แข็ง • สินค้านำเข้าของไทย • แอปเปิล สาลี่ กากเมล็ดพืช กระเทียม ผลไม้ปรุงแต่ง

  7. การค้าสินค้าเกษตรไทย-อินเดียการค้าสินค้าเกษตรไทย-อินเดีย • สถานการณ์การค้า (เฉลี่ยปี 44-46) • - มูลค่าการค้าสินค้าเกษตร 6,055 ล้านบาท • - ไทยส่งออก 1,102 ล้านบาท • - ไทยนำเข้า 4,953 ล้านบาท • - ดุลการค้าของไทย - 3,851 ล้านบาท • สินค้าส่งออกของไทย • น้ำมันปาล์มดิบ น้ำตาลดิบ หมาก อาหารสัตว์สำเร็จรูป • สินค้านำเข้าของไทย • กากถั่วเหลือง กุ้งแช่แข็ง น้ำมันละหุ่ง กากถั่วลิสง • ปลาแมคเคอเรลแช่แข็ง ปลาทูน่าแช่แข็ง

  8. การค้าสินค้าเกษตรไทย-นิวซีแลนด์การค้าสินค้าเกษตรไทย-นิวซีแลนด์ • สถานการณ์การค้า (เฉลี่ยปี 44-46) • - มูลค่าการค้าสินค้าเกษตร 7,513 ล้านบาท • - ไทยส่งออก 1,523 ล้านบาท • - ไทยนำเข้า 5,990 ล้านบาท • - ดุลการค้าของไทย - 4,467 ล้านบาท • สินค้าส่งออกของไทย • ปลาทูน่ากระป๋อง อาหารปรุงแต่ง กุ้งแช่แข็ง ปลาปรุงแต่ง • สับปะรดกระป๋อง ข้าวหอมมะลิ • สินค้านำเข้าของไทย • อาหารเลี้ยงทารก นมและผลิตภัณฑ์ ปลาแช่แข็ง แอปเปิล

  9. การค้าสินค้าเกษตรไทย-สหรัฐอเมริกาการค้าสินค้าเกษตรไทย-สหรัฐอเมริกา • สถานการณ์การค้า (เฉลี่ยปี 44-46) • - มูลค่าการค้าสินค้าเกษตร 104,691 ล้านบาท • - ไทยส่งออก 82,245 ล้านบาท • - ไทยนำเข้า 22,446 ล้านบาท • - ดุลการค้าของไทย + 59,799 ล้านบาท • สินค้าส่งออกของไทย • กุ้งแช่แข็ง ปลาทูน่ากระป๋อง ข้าวหอมมะลิ สับปะรดกระป๋อง • สินค้านำเข้าของไทย • ถั่วเหลือง ข้าวสาลี ถั่วเหลืองโรงงาน กากถั่วเหลือง • เนื้อสัตว์

  10. การค้าผักและผลไม้ระหว่างไทย-จีนการค้าผักและผลไม้ระหว่างไทย-จีน ภายหลังจากลดภาษีนำเข้าครบ 1 ปี (1 ต.ค 46 - 30 ก.ย. 47)

  11. มูลค่านำเข้าของไทย ก่อน EHP: 568ล้านบาท หลัง EHP:1,342ล้านบาท เพิ่มขึ้น 136 % กระเทียม แครอท ถั่วต่างๆ หอมหัวใหญ่ มูลค่าส่งออกของไทย ก่อน EHP: 4,675 ล้านบาท หลัง EHP: 7,941 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 70 % มันสำปะหลังสด (99.8%ของ มูลค่าส่งออกตอนที่ 07 ทั้งหมด) ดุลการค้าของไทย ก่อน EHP: + 4,107 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,492 ล้านบาท หลัง EHP:+ 6,599 ล้านบาท (+ 61%) ตอนสินค้าที่ 07 (พืชผัก)

  12. มูลค่านำเข้าของไทย ก่อน EHP: 1,386 ล้านบาท หลัง EHP:3,159ล้านบาท เพิ่มขึ้น 128 % แอปเปิล สาลี่ มูลค่าส่งออกของไทย ก่อน EHP: 2,514 ล้านบาท หลัง EHP: 3,385 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 70 % ลำไยสดแห้ง ทุเรียน มังคุด ตอนสินค้าที่ 08 (ผลไม้) ดุลการค้าของไทย ก่อน EHP: + 1,128 ล้านบาท ลดลง 902 ล้านบาท หลัง EHP:+ 226 ล้านบาท (- 80%)

  13. FTA: ผลต่อภาคการเกษตรของไทย • 1. โอกาสจากการลดมาตรการด้านภาษี • สินค้าที่มีโอกาสส่งออกเพิ่มขึ้น

  14. FTA: ผลต่อภาคการเกษตรของไทย(ต่อ) • 1. โอกาสจากการลดมาตรการด้านภาษี (ต่อ) • สินค้าที่มีโอกาสนำเข้าเพิ่มขึ้น

  15. FTA: ผลต่อภาคการเกษตรของไทย(ต่อ) • โอกาสจากการลดมาตรการที่มิใช่ภาษีและอุปสรรคทางการค้า • จีนเลิกการให้นำเข้าทุเรียนมะม่วงจากสวนที่รับรอง • จีนยกเลิกการอบไอน้ำสำหรับมะม่วง เพียงกำหนดให้รับรองการปลอดแมลงวันผลไม้ (มีผลกลางปี 2548) • ไทย-จีน จัดทำ Protocol ส่งออกผลไม้ระหว่างกัน • ไทย-จีน จัดตั้ง Hot Lines เพื่อแก้ปัญหาการค้าผลไม้ (ดำเนินการปี 2548) • ลดขั้นตอนการตรวจสอบโดยการจัดทำ MRA / Fast Lane • สนับสนุนให้เกิดการตรวจสอบคุณภาพสินค้านำเข้าอย่าง เข้มงวดยิ่งขึ้น

  16. FTA: ผลต่อภาคการเกษตรของไทย(ต่อ) • 5. เร่งรัดให้เกิดการปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรใน ส่วนที่จำเป็น • 6. ส่งผลให้เกษตรกรเพิ่ม/รักษาคุณภาพการผลิต • กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาวิทยาการในด้านต่างๆ • สนับสนุนการผลิตเพื่อได้ผลตอบแทนที่มากกว่า • ส่งเสริมให้มีการขยายงานวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร

  17. แนวทางรองรับผลของ FTA ในภาคการเกษตร

  18. แนวทางรองรับ:ด้านปศุสัตว์แนวทางรองรับ:ด้านปศุสัตว์ • สนับสนุนการจัดหาแม่โคนมทดแทน • ส่งเสริมการผลิตข้าวโพดหมักและอัดก้อนข้าวโพด • เร่งรัดการผลิตนาหญ้าและอัดก้อนหญ้าแห้ง • เพิ่มปริมาณวัคซีนป้องกันโรคและผสมเทียม • สนับสนุนการผลิตอาหารสัตว์ TMR (Total Mixed Ration) • สนับสนุนการผลิตโคเนื้อคุณภาพ

  19. แนวทางรองรับ:ด้านพืช • สนับสนุนการวิจัยพัฒนาระบบการจัดการฟาร์มและแปรรูปผักผลไม้ • สนับสนุนการผลิตกล้าไม้ผลพันธุ์ดี • ลดพื้นที่ปลูกกระเทียมที่ไม่เหมาะสม • ลดพื้นที่ปลูกหอมหัวใหญ่ที่ไม่เหมาะสม • ส่งเสริมการผลิตไหมทอง • ส่งเสริมการผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษและ เกษตรอินทรีย์

  20. แนวทางรองรับ:ด้านโครงสร้างพื้นฐานแนวทางรองรับ:ด้านโครงสร้างพื้นฐาน • สนับสนุนการจัดสร้างห้องเก็บผลผลิตสินค้าเกษตร (ผัก ผลไม้ ประมง ปศุสัตว์) • สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า (ผัก ผลไม้ ประมง) • ส่งเสริมการกระจายสินค้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์คุณภาพ • ส่งเสริมการสร้างโรงงานนมผง แนวทางรองรับ:ด้านการปรับโครงสร้างการผลิต • แผนปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรและ ส่งเสริมอาชีพนอกการเกษตร

  21. ขอบคุณและสวัสดี

More Related