120 likes | 693 Views
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558. กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่. สถานการณ์ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาคเหนือ. ยุทธศาสตร์กระทรวงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 58. ผลลัพธ์ที่ 1. ร้อยละ 25 ของเทศบาลนคร/เมือง มีการดำเนินงานตามกฎหมาย
E N D
แนวทางการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
สถานการณ์ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาคเหนือสถานการณ์ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาคเหนือ
ยุทธศาสตร์กระทรวงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 58 • ผลลัพธ์ที่ 1. • ร้อยละ 25 ของเทศบาลนคร/เมือง มีการดำเนินงานตามกฎหมาย • รพ.สธ.จัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยได้มาตรฐานและตามกฎหมาย • เพิ่มประสิทธิภาพ • และกลไก • การใช้กฎหมาย • การเฝ้าระวังป้องกัน และแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแว้อมและสุขภาพ • การพัฒนาขีด • ความสามารถบุคลากร • ด้านกฎหมาย/วิชาการ • ผลลัพธ์ที่ 3 • มีข้อมูล สถานการณ์ปัญหาในระดับจังหวัด • มีการจัดการปัญหาในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม • ระบบติดตามและ • ประเมินผล • ผลลัพธ์ที่ 2 • จพง.สธ./จพง.ท้องถิ่นมีสมรรถนะในการจัดการสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี
เป้าหมายสำคัญเชิงประเด็นงานเป้าหมายสำคัญเชิงประเด็นงาน • โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • มูลฝอยติดเชื้อ • การบำบัดน้ำเสีย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • มูลฝอย(ทั่วไป , อันตราย) • สิ่งปฏิกูล • สุขาภิบาลอาหาร • คุณภาพน้ำบริโภค • เหตุรำคาญ • พื้นที่เสี่ยง(การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ)HIA) • (ดำเนินการตามกฎหมาย)
ยุทธศาสตร์ อนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ • สนับสนุนคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดตามที่ได้รับการแต่งตั้ง - ข้อมูล สถานการณ์ ข้อกฎหมาย วิชาการ การเตรียมประเด็น การติดตามมติ • การวางแผน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ถอดบทเรียนการดำเนินการร่วมในระดับเขต • การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรด้านกฎหมายสาธารณสุข - การอบรมเจ้าพนักงานสาธารณสุขระดับอำเภอด้านกฎหมายสาธารณสุข - การอบรมเจ้าพนักงานท้องถิ่นด้านกฎหมายสาธารณสุข - การจัดเวทีจัดการความรู้เรื่องการใช้กฎหมายสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ อนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ • การประเมินระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท.(EHA) • กรมอนามัยจัดอบรมผู้ประเมิน อปท. เรื่อง EHA9 ระบบ (หลักสูตร 58 ชั่วโมง) • ศูนย์ฯจัดประชุมชี้แจงการประเมิน EHAให้ สสจ., สสอ. ทราบ(3 วัน) • ติดตามพัฒนาท้องถิ่นในการพัฒนาระบบบริการให้เป็นไปตามมาตรฐานEHA • การประเมินท้องถิ่นเรื่อง EHA (โดยมีศูนย์ฯและกลุ่มอนามัยสิ่งแวดล้อมจังหวัดเป็นผู้ประเมิน และสสอ.เป็นผู้กำกับติดตามการพัฒนา) • ถอดบทเรียนร่วมกับสสจ., สสอ. และท้องถิ่นเรื่อง EHA
ยุทธศาสตร์ คุ้มครองผู้บริโภค • การพัฒนาศักยภาพผู้ปรุงประกอบอาหาร / ผู้สัมผัสอาหาร / ผู้บริโภค • การเฝ้าระวัง ตรวจสอบมาตรฐาน ความปลอดภัยทางอาหาร • การอบรมหลักสูตร food Inspector ให้กับเจ้าหน้าที่ และ ท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์ ควบคุมโรค • โครงการสุขาภิบาลพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว-พม่า • การเตรียมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม