230 likes | 631 Views
Asean Economic Community. Asean Economic Community. มีกำแพงภาษีต่อ ประเทศภายนอก ในอัตราเดียวกัน. สามารถ เคลื่อนย้ายไปมาได้ อย่าง เสรี ไม่ต้องเสียภาษีระหว่าง กันแต่ละ ประเทศ ยังคงสามารถตั้งอัตรา ภาษีต่อ ประเทศ นอกกลุ่ม ได้. Free Trade Area. Custom Union. มีมาตรการ เพื่อทำ
E N D
Asean Economic Community มีกำแพงภาษีต่อ ประเทศภายนอก ในอัตราเดียวกัน • สามารถเคลื่อนย้ายไปมาได้อย่าง • เสรี ไม่ต้องเสียภาษีระหว่างกันแต่ละ • ประเทศยังคงสามารถตั้งอัตราภาษีต่อ • ประเทศนอกกลุ่มได้ Free Trade Area Custom Union มีมาตรการเพื่อทำ ให้ปัจจัยการผลิต เคลื่อนย้ายได้อย่าง สมบูรณ์ สามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต สินค้าได้อย่างเสรี Common Market บูรณาการทางเศรษฐกิจโดย สมบูรณ์ประเทศสมาชิกมี นโยบายการเงิน และการ คลังร่วมกัน Single Market AEC Economic Union
ความเป็นมา • Aseanรวมตัวกันเพื่อเร่งรัดความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในภูมิภาค • มีสมาชิกทั้งหมด10ประเทศ คือ ไทยมาเลเซียฟิลิปปินส์อินโดนีเซียสิงคโปร์บรูไนลาวกัมพูชาเวียดนามพม่า • อาเซียนได้ลงนามจัดตั้ง “เขตการค้าเสรี” (ASEAN Free Trade Area: AFTA) • ลงนามใน“กฏบัตรอาเซียน” วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร เพื่อก้าวสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนประกอบด้วยสามด้าน
ความเป็นมา • ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง (ASEAN Security Community: ASC) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน (AEC) • ให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ • อาเซียนเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิต หรือ Single market • การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรี • ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน คือ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (CLMV) จุดมุ่งหมาย
ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน (AEC) • ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายด้านการเงิน เศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน รวมถึง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในด้านต่างๆ • ส่งเสริมการ outsourcing หรือการผลิตสินค้า โดยใช้วัตถุดิบและชิ้นส่วนที่ผลิตภายในอาเซียน • AEC ได้มอบหมายให้ประเทศต่างๆ ทำหน้าที่รับผิดชอบเป็นผู้ประสานงานหลัก (Country Coordinators) ในการผลิตสินค้า • ไทย : สาขาการท่องเที่ยว (Tourism) และสาขาการบิน (Air Travel) จุดมุ่งหมาย
พิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) • เป็นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่AEC • กำหนดยุทธศาสตร์การก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่สำคัญดังนี้ 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน 2. การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง 3. การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน 4. การเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ผลผูกพันของ AEC ต่อไทย การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี • การยกเลิกภาษีเหลือ0% ในปี2553 ยกเว้น สินค้าใน Sensitive List ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง < 5% ประเทศไทยมี 4 รายการ คือ กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง • การขจัด NTBs การเคลื่อนย้ายบริการเสรี • ลดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดในด้านต่างๆ ลง • เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับบุคคล/นิติบุคคลในสัญชาติอาเซียน ดังนี้
ผลผูกพันของ AEC ต่อไทย การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีขึ้น • ด้านตลาดทุน - เสริมสร้างความแข็งแกร่งของตลาดทุนในอาเซียนโดยสร้างมาตรฐานด้านตลาดทุน - สร้างความตกลงสำหรับการยอมรับในคุณสมบัติและคุณวุฒิการศึกษา • ด้านเงินทุนเคลื่อนย้าย - เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรียิ่งขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป - ให้สมาชิกมีมาตรการปกป้องเพื่อรองรับผลกระทบจากปัญหาความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาค และความเสี่ยงเชิงระบบ
ผลผูกพันของ AEC ต่อไทย การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี • อยู่ภายในขอบเขตความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน(ACIA) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • มีการจัดการหรืออำนวยความสะดวกในการเดินทาง โดยอำนวยความสะดวกในการตรวจตราและออกใบอนุญาตทำงาน
ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน: ACIA - เป็นผลมาจากการรวมและการทบทวนความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน 2 ฉบับ - ความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน ปี ค.ศ.1998(Framework Agreement on ASEAN Investment Area: AIA Agreement) - ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการส่งเสริมและการคุ้มครองการลงทุน ปี ค.ศ. 1987 (ASEAN Investment Guarantee Agreement: ASEAN IGA) รวมทั้งพิธีสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน: ACIA วัตถุประสงค์ - ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมในโลกที่มีการแข่งขันเพิ่มขึ้น - ทำให้อาเซียนสามารถเป็นฐานการลงทุน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน สาระสำคัญของ ACIA ประกอบด้วย4 หลักใหญ่ ได้แก่ 1.การเปิดเสรี 2.การให้ความคุ้มครอง 3.การส่งเสริมการลงทุน 4.การอำนวยความสะดวกด้านการลงทุน
อุปสรรคและปัญหาของ AEC • ขาดความจริงจังในระดับต่างๆ • ขาดการบูรณาการภายในประเทศ • เป็นการเปิดเสรีแบบมีเงื่อนไข • ข้อบังคับด้านกฎหมายของแต่ละประเทศที่ไม่สอดคล้องกัน • ผู้คนในแต่ละประเทศขาดความรู้เกี่ยวกับ AEC • ขาดความรู้ในด้านกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา อาจทำให้เกิดการขโมยภูมิความรู้เฉพาะด้านของแต่ละประเทศได้ • ความเสียเปรียบด้านภาษา
บทวิเคราะห์ ผลที่เกิดขึ้นเมื่อสหภาพยุโรปเข้าสู่ระดับ Economic Union • เงินสกุลเดียวช่วยลดต้นทุนในการทำธุรกิจระหว่างกันในกลุ่ม • ขจัดความเสี่ยงจากการผันผวน อัตราแลกเปลี่ยนภายในกลุ่ม • ขนาดของตลาดเงินและตลาดทุนในกลุ่มมีขนาดใหญ่อันจะเป็นการเอื้ออำนวยความ สะดวก และลดต้นทุนในการระดม รวมทั้งดึงดูดเงินทุนจากต่างประเทศ • ขนาดของตลาดใหญ่ก่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด AEC & EU
บทวิเคราะห์ • เกิดแรงจูงใจให้มีการหลั่งไหลเงินทุนเข้ามาในกลุ่มมากขึ้น • เพิ่มอำนาจการต่อรองในเวทีการค้า • ป้องกันการถูกโจมตีค่าเงินของแต่ละประเทศ • การรวมกันเป็นเงินสกุลเดียวและให้ธนาคารกลางยุโรป • (ECB) ดูแลนโยบายการเงินทำให้แต่ละประเทศสมาชิก • สูญเสียอำนาจในการใช้นโยบายการเงิน AEC & EU
บทวิเคราะห์ • กรณีวิกฤตในประเทศ กรีซ • เมื่อมีการรวมกลุ่มเป็นสหภาพยุโรป • ประเทศที่จัดอยู่ในกลุ่มร่ำรวยจะมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนที่อยู่ในรูปของการลงทุนทางตรงไปสู่ประเทศสมาชิกที่มีต้นทุนทางการเงินต่ำกว่า • ประเทศกรีซ อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจประเทศกรีซดีขึ้นการกู้ยืมเงินง่ายขึ้น • การกู้ยืมและการใช้จ่ายเกินตัวทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนจึงขาดดุลทางการค้าและการขาดดุลในงบประมาณเป็นปัญหาวิกฤตหนี้ AEC & EU
บทวิเคราะห์ • กรณีวิกฤตในประเทศ กรีซ • เกิดปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจในประเทศสหรัฐอเมริกา • นักลงทุนจึงทยอยกันหยุดลงทุนในรูปของการลงทุนทางตรงในประเทศกรีซ • การกู้ยืมและการใช้จ่ายเกินตัวทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนจจึงขาดดุลทางการค้าและการขาดดุลในงบประมาณเป็นปัญหาวิกฤตหนี้ • ในที่สุดประเทศกรีซก็ไม่สามารถจ่ายหนี้ของประเทศได้ จนEuropean Central Bankต้องเข้ามาช่วยเหลือโดยการรับซื้อหุ้นกู้ของรัฐบาลกรีซเป็นจำนวนมาก AEC & EU
บทวิเคราะห์ • ผลกระทบที่เรียกว่าHub-and-Spoke effect • - เกิดขึ้นเมื่อประเทศหรือกลุ่มประเทศขนาดใหญ่ทำความ • ตกลงการค้าเสรีแบบทวิภาคีกับประเทศขนาดเล็กอื่นๆอีก • หลายประเทศ และประเทศขนาดเล็กเหล่านั้นไม่ได้มีความตก • ลงการค้าเสรีระหว่างกัน AEC & EU
บทวิเคราะห์ • - ประเทศขนาดใหญ่กลายเป็นประเทศศูนย์กลาง (hub)ทางการค้าและการลงทุน • - ประเทศขนาดเล็กอื่นๆกลายเป็นประเทศบริวาร (spoke) • - นักลงทุนต่างชาติจะเข้ามาลงทุนในประเทศ hub แทนการลงทุนในประเทศ spoke • - ทำให้ประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ สูญเสียประโยชน์ที่ควรได้รับจากการลงทุนในส่วนนี้ไป AEC & EU
บทวิเคราะห์ แนวโน้มปัญหาของเอเชียเมื่อเข้าสู่ AEC - กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนนั้นยังมีความเลื่อมล้ำทาง เศรษฐกิจและประชากรเช่น - เป็นไปได้ว่ากลุ่มประเทศในสมาชิกอาเซียนอาจมีแนวโน้มที่ จะเกิดวิกฤติทางการเงินดังเช่นที่เกิดขึ้นในกรีซได้เช่นกันหาก มีการพัฒนาไปถึงระดับ Economic Union
บทวิเคราะห์ • แนวโน้มผลกระทบต่อไทย :ผลกระทบเชิงลบ • สินค้าของประเทศอาเซียนอื่นเข้าสู่ตลาดไทยได้โดยไม่มีภาระภาษี ทำให้ผู้ประกอบการของไทยต้องแข่งขันมากขึ้น • ในด้านการลงทุน อาจทำให้มีการย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยังประเทศอื่นๆ ใน ASEAN ที่เหมาะสมกว่า • การเคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรี ทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายของแรงงานมีฝีมือของไทยไปประเทศที่ให้ค่าตอบแทนสูงกว่า • หรือที่เรียกว่าปัญหา “สมองไหล(brain drain )” • • ตลาดสินค้าในประเทศ (Domestic Market) ได้รับผลกระทบจากสินค้าต่างประเทศที่มีราคาถูกกว่า
บทวิเคราะห์ • แนวโน้มผลกระทบต่อไทย :ผลกระทบเชิงบวก • เนื่องจากตลาดอาเซียนเป็นตลาดส่งออกอันดับหนึ่งของไทยการลดและยกเลิกมาตรการทางภาษีเป็นร้อยละ 0 เป็นการเพิ่มโอกาสในการส่งออกของไทย • ต้นทุนในการผลิตของไทยต่ำลง สามารถนำเข้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางที่ใช้ในการผลิต ได้ในราคาที่ถูกลง • สร้างเสริมโอกาสการลงทุนเมื่อประเทศอาเซียนมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรีมากยิ่งขึ้น • •เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน • •เพิ่มอำนาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก