340 likes | 1.06k Views
ภาพรวมระบบจัดซื้อจัดจ้าง ( PO). สรุปการบันทึกผ่าน GFMIS Terminal. ระบบ GFMIS. ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์. ภาพรวมการบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ผ่าน GFMIS Terminal. 2. ผู้ขาย. 3. ฝ่ายพัสดุ. 1. ฝ่ายพัสดุ. เมื่อครบกำหนด ส่งมอบ
E N D
ภาพรวมระบบจัดซื้อจัดจ้าง (PO) สรุปการบันทึกผ่าน GFMIS Terminal ระบบ GFMIS ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์
ภาพรวมการบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้างภาพรวมการบันทึกการจัดซื้อ/จัดจ้าง ผ่าน GFMIS Terminal 2. ผู้ขาย 3. ฝ่ายพัสดุ 1. ฝ่ายพัสดุ เมื่อครบกำหนดส่งมอบ ผู้ขายจัดส่งรายการสั่งซื้อ/จ้าง ให้ส่วนราชการ • - คณะกรรมการตรวจรับตามรายการ สั่งซื้อ/จ้าง • บันทึกรับพัสดุอ้างเลขที่ PO ของ GFMIS • ผ่าน GFMIS Terminal (MIGO) • - บันทึกวันที่รับพัสดุเพิ่มเติมในทะเบียนคุม เพื่อสะดวกในการติดตามสถานะ • - สิ้นวัน ตรวจสอบรายงานรับพัสดุ(MB51)เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายการรับพัสดุจากผู้ขาย • คัดเลือกผู้ขาย ตามระเบียบวิธีการปกติ • ตรวจสอบข้อมูลผู้ขาย ถ้าไม่มีในระบบ • ต้องดำเนินการสร้างข้อมูลหลักผู้ขายตามกระบวนการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย • บันทึกรายการสั่งซื้อ/จ้าง ผ่าน GFMISTerminal • ตรวจสอบรายการที่บันทึก • พิมพ์ใบสั่งซื้อ/จ้าง ส่งให้ผู้ขาย • บันทึกรายการสั่งซื้อ/จ้างลงทะเบียนคุมเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและค้นหาเอกสาร • สิ้นวันตรวจสอบรายงานสถานะ PO(ZMM_ME2N)กับทะเบียนคุมเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายการสั่งซื้อ/จ้างที่บันทึกเข้า GFMIS 4. หน่วยงานตั้งเบิก - รวบรวมและตรวจสอบเอกสารสำหรับการตั้งเบิก ส่งให้หน่วยงานตั้งเบิก บันทึกตั้งเบิกผ่านเครื่อง GFMIS Terminal โดยอ้างเลขที่ PO เพื่อจ่ายเงินให้กับผู้ขายโดยตรง พร้อมเลขที่ POที่ได้จากระบบ GFMIS
การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) • บันทึกผ่าน GFMIS Terminal • บันทึกเป็นวัสดุคงคลังที่เก็บเฉพาะมูลค่า (I) • บันทึกเป็นสินทรัพย์ (A) • บันทึกเป็นสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง/ดำเนินงานหรืองานระหว่างทำ (W) • บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย (K) • บันทึกเป็นพักสินทรัพย์ (S)
การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 1. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นวัสดุคงคลังเก็บเฉพาะมูลค่า (I) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อวัสดุที่จำเป็นต้องใช้ร่วมกัน • หลายๆ หน่วยงานและต้องมีการจัดเก็บไว้เพื่อให้หน่วยงานต่างๆมาเบิกใช้งาน • สาเหตุที่ต้องจัดเก็บเช่น • เป็นวัสดุที่ต้องสั่งซื้อในปริมาณมากเนื่องจากต้องสั่งผลิต • 2. เป็นวัสดุที่ใช้ระยะเวลาในการจัดหานานเนื่องจากต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ • ตัวอย่างเช่น • ผ้าตัดเครื่องแบบสีกากี, เสื้อกันฝนแบบสะท้อนแสง, วัคซีนป้องกันโรค เป็นต้น
12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - I 13.ปริมาณสั่ง 14.OUn - หน่วยสั่งซื้อ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header รายละเอียดรายการ ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18.เลขที่บัญชี G/L – 1105010105 วัสดุคงคลัง 19.ศูนย์ต้นทุน 20.รหัสงบประมาณ 21.แหล่งของเงิน 22.GPSC 23.กิจกรรมหลัก การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน เงื่อนไข 25.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT Text 24.ข้อความในรายการ สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อเป็นวัสดุคงคลัง 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร
กระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อเป็นวัสดุคงคลังกระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อเป็นวัสดุคงคลัง • เมื่อมีการเบิกจ่ายวัสดุออกจากบัญชีวัสดุคงคลังให้ดำเนินการ ดังนี้ • สรุปมูลค่าของการเบิกวัสดุคงคลัง แยกตามกลุ่มพัสดุของรหัส GPSC • ส่งรายละเอียดให้ฝ่ายบัญชี ทำการปรับปรุงบัญชีวัสดุคงคลังให้ถูกต้อง • Note: ข้อมูลที่ฝ่ายพัสดุมีการเบิกของที่เป็นวัสดุคงคลัง ต้องแจ้งให้ฝ่ายบัญชีทราบ • พร้อมมูลค่าของกลุ่มพัสดุที่มีการเบิก มีดังนี้ • ศูนย์ต้นทุนผู้เบิก • กิจกรรมหลักของการเบิกใช้ • แหล่งของเงิน • รหัสงบประมาณ
การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 2. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นสินทรัพย์ (A) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อสินทรัพย์ที่มีมูลค่าตาม • หลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป • (เท่ากับหรือมากกว่า 5,000 บาท)ตัวอย่างเช่น • ครุภัณฑ์สำนักงาน, ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง, ครุภัณฑ์ • ไฟฟ้าและวิทยุ, ครุภัณฑ์การศึกษา, ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - A 13.ปริมาณสั่ง - 1 14.OUn – หน่วยสั่งซื้อ – ตรงกับข้อมูลหลักสินทรัพย์ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18. GPSC 19.เลขที่สินทรัพย์ และ สินทรัพย์ย่อย รายละเอียดรายการ การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน เงื่อนไข 21.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT Text 20.ข้อความในรายการ สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อสินทรัพย์ 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร Note: PO 1 บรรทัดรายการ ระบุ 1 เลขที่สินทรัพย์
การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 3. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง/ดำเนินงานหรืองานระหว่างทำ (W) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อ/จ้างดำเนินการงานโครงการ • ที่มีการส่งมอบงานเป็นงวด และเมื่อเสร็จสิ้นโครงการมีรายการสินทรัพย์เกิดขึ้น • หรืองานจัดซื้อสินทรัพย์ที่มีการชำระเงินตั้งแต่ 2 งวดขึ้นไปตัวอย่างเช่น • สั่งจ้างเหมาทำระบบคอมพิวเตอร์ที่ส่งมอบงานเป็นงวด และมีรายการ • สินทรัพย์เกิดขึ้นหลังเสร็จสิ้นงาน เช่นครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์, ครุภัณฑ์สำนักงาน • เกิดขึ้นภายหลังเสร็จสิ้นงาน • สั่งจ้างดำเนินการก่อสร้างอาคาร สิ่งปลูกสร้าง ซึ่งส่งมอบงานเป็นงวดและ • เมื่องานเสร็จสิ้นมีรายการสินทรัพย์เกิดขึ้น
12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - W 13.ปริมาณสั่ง 14.OUn – หน่วยสั่งซื้อ – ตรงกับข้อมูลหลักสินทรัพย์ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18. GPSC 19.เลขที่สินทรัพย์งานระหว่างทำ และ สินทรัพย์ย่อย รายละเอียดรายการ การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน เงื่อนไข 21.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT Text 20.ข้อความในรายการ สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อ-จ้างเป็นสินทรัพย์งานระหว่างทำ 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร Note: PO 1 บรรทัดรายการ ระบุ 1 เลขที่สินทรัพย์
กระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อ/จ้างเป็นสินทรัพย์งานระหว่างทำกระบวนงานสำคัญของการบันทึกซื้อ/จ้างเป็นสินทรัพย์งานระหว่างทำ • เมื่อเสร็จสิ้นงานและผ่านการตรวจรับงวดสุดท้ายเรียบร้อยแล้ว ให้ดำเนินการดังนี้ • แยกรายการสินทรัพย์ออกจากสินทรัพย์งานระหว่างทำ • สร้างข้อมูลหลักสินทรัพย์ ตามรายการสินทรัพย์ที่แยกออกมา โดย • สินทรัพย์ 1 ชิ้น ต่อ 1 เลขที่สินทรัพย์ • Note :ข้อมูล แหล่งของเงิน, รหัสงบประมาณ, กิจกรรมหลัก ให้ใช้ของปีเดียวกับ • ที่ตรวจรับงวดสุดท้าย • 3. ส่งรายละเอียดรายการสินทรัพย์ พร้อมเลขที่สินทรัพย์ของแต่ละรายการ • เพื่อโอนสินทรัพย์งานระหว่างทำ เป็นสินทรัพย์รายตัว
การบันทึกประเภทงานจัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) 4. การจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย (K) • การบันทึกรายการจัดซื้อ/จัดจ้าง กรณีเป็นการซื้อวัสดุสิ้นเปลือง หรือจ้าง/ • เหมาบริการ ที่ลงเป็นค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน(รหัสตามศูนย์ต้นทุนที่กำหนด) • และไม่มีสินทรัพย์ถาวรเกิดขึ้นตามรายการที่สั่งซื้อ/จ้างตัวอย่างเช่น • สั่งซื้อวัสดุสำนักงาน, วัสดุงานครัว, วัสดุอื่นๆ • จ้างซ่อมแซมบำรุงรักษา, จ้างที่ปรึกษา
12.ระบุหมวดการกำหนดเลขที่บัญชี - K 13.ปริมาณสั่ง 14.OUn - หน่วยสั่งซื้อ 15.วันที่ส่ง 16.ราคาสุทธิต่อหน่วย 17.รง. - ระบุรหัสคลังพัสดุ ภาพรวมรายการ Org.data 4.องค์กรการจัดซื้อ – THAI 5.หน่วยจัดซื้อ 6.รหัสหน่วยงาน Header ข้อมูลเพิ่มเติม 11.วันสิ้นสุดสัญญา การกำหนดเลขที่บัญชี 18.เลขที่บัญชี G/L 19.ศูนย์ต้นทุน 20.รหัสงบประมาณ 21.แหล่งของเงิน 22.GPSC 23.กิจกรรมหลัก รายละเอียดรายการ การติดต่อสื่อสาร 7.ผู้สร้างใบสั่งซื้อ 8.วิธีจัดซื้อจัดจ้าง 9.เลขที่บัญชีธนาคาร 10.เลขที่อ้างอิงภายใน Text 24.ข้อความในรายการ เงื่อนไข 25.CnTy – ระบุเงื่อนไขของ VAT สรุปการบันทึกสร้าง PO กรณีซื้อเป็นค่าใช้จ่าย 1.เลือกประเภทใบสั่งซื้อเป็น – ใบสั่งซื้อส่วนกลาง 2.รหัสผู้ขาย 3.วันที่เอกสาร
การเลือกใช้บัญชีแยกประเภทการเลือกใช้บัญชีแยกประเภท สำหรับบันทึกใบสั่งซื้อ/จ้าง ระบบ GFMIS ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์
การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การกำหนดบัญชี (Account Assignment) K เลขที่บัญชีแยกประเภทสำหรับค่าใช้จ่ายขึ้นต้นด้วย 5 การเลือกบัญชีโดยดูจากคำอธิบายบัญชี 5104xxxxxx - บัญชีค่าวัสดุ ค่าใช้สอย และค่าสาธารณูปโภค เช่น
การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน การกำหนดบัญชี (Account Assignment) K 5106xxxxxx - บัญชีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ
การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีวัสดุคงคลัง การกำหนดบัญชี (Account Assignment) I เลขที่บัญชีแยกประเภทสำหรับค่าใช้จ่ายขึ้นต้นด้วย1 การเลือกบัญชีโดยดูจากคำอธิบายบัญชี 1105xxxxxx – บัญชีสินค้าและวัสดุคงเหลือ เช่น
การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์และงานระหว่างทำ การกำหนดบัญชี (Account Assignment) A, W (สำหรับการบันทึกรายการผ่าน GFMIS Terminalเท่านั้น) ไม่ต้องระบุเลขที่บัญชีแยกประเภท ให้ระบุรหัสสินทรัพย์หรือ งานระหว่างทำ ระบบจะระบุค่าบัญชีแยกประเภทให้อัตโนมัติโดยนำค่ามาจากข้อมูลหลักสินทรัพย์หรืองานระหว่างทำ
การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์ การกำหนดบัญชี (Account Assignment) S 1204xxxxxx – บัญชีที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์ เช่น
การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์ การกำหนดบัญชี (Account Assignment) S 1205xxxxxx – บัญชีอาคาร เช่น
การจัดซื้อจัดจ้าง กรณีสินทรัพย์ การกำหนดบัญชี (Account Assignment) S 1206xxxxxx – บัญชีครุภัณฑ์ เช่น
การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal วันที่เอกสาร ระบุวันที่ตั้งแต่ 01.10.2006 เป็นต้นไป
การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal ระบุแหล่งของเงิน 50XXXXX
การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal ระบุรหัสงบประมาณตามโครงสร้างรหัสงบประมาณปี 2550
การเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550 1. การบันทึกรายการผ่านทางเครื่อง GFMIS Terminal ระบุกิจกรรมหลักตามโครงสร้างปี 2550
สรุปการเปลี่ยนแปลงการบันทึกรายการระบบจัดซื้อจัดจ้างสำหรับปีงบประมาณ 2550
การจัดซื้อ-จัดจ้าง ใช้เงินนอกงบประมาณที่อยู่ในบัญชีเงินฝากคลัง บันทึกผ่าน GFMIS Terminal การบันทึกที่แตกต่างจากเงินในงบประมาณ 1. แหล่งของเงิน – จะเป็น YY2XXXX โดยที่ YY = ปีงบประมาณ เช่นงบประมาณปี 2550 YY=50 เช่น 5026000 – เงินฝากคลัง 2. รหัสงบประมาณ – รหัส 5 หลักแรกของรหัสงบประมาณของหน่วยงาน เช่น12005 3. กิจกรรมหลัก – ระบบจะกำหนดให้โดยอัตโนมัติเป็น PXXXX XXXX = รหัสพื้นที่ (จังหวัด) เช่นP1000 = กรุงเทพฯ P1400 = อยุธยา 4. บัญชีเงินฝาก– รหัสเงินฝากคลังที่ฝากไว้ในบัญชีเงินคงคลังที่ 1 ที่กรมบัญชีกลาง/สำนักงานคลังจังหวัด AAXXX = รหัสเงินฝากคลัง เช่น 00XXX ฝากไว้ที่กรมบัญชีกลาง 10XXX ฝากไว้ที่สำนักงานคลังจังหวัด 20XXX ฝากไว้ที่สำนักงานคลังจังหวัด ณ อำเภอ 5. เจ้าของเงินฝาก– ระบบจะดึงค่ามาให้อัตโนมัติเมื่อระบุบัญชีเงินฝาก
การจัดซื้อ-จัดจ้าง ใช้เงินนอกงบประมาณนอกบัญชีเงินฝากคลัง (เงินฝากธนาคาร) บันทึกผ่าน GFMIS Terminal • การบันทึกที่แตกต่างจากเงินในงบประมาณ • แหล่งของเงิน – จะเป็น YY3XXXX • โดยที่ YY = ปีงบประมาณ เช่นงบประมาณปี 2550 YY=50 • เช่น 5036000 – เงินอุดหนุนนอก • 2. รหัสงบประมาณ – รหัส 5 หลักแรกของรหัสงบประมาณของหน่วยงานเช่น12005 • 3. กิจกรรมหลัก – ระบบจะกำหนดให้โดยอัตโนมัติเป็น PXXXX • XXXX = รหัสพื้นที่ (จังหวัด)เช่นP1000 = กรุงเทพฯ • 4. บัญชีย่อย– ระบุในกรณีเป็นเงินอุดหนุนหรือเงินกู้ • 5. เจ้าของบ/ช ย่อย– ระบบจะดึงค่ามาให้อัตโนมัติเมื่อระบุบัญชีย่อย
การจัดซื้อ-จัดจ้าง ใช้งบกลางของสำนักงบประมาณ บันทึกผ่าน GFMIS Terminal • การบันทึกที่แตกต่างจากเงินในงบประมาณ • แหล่งของเงิน – จะเป็น YY10XXX • โดยที่ YY = ปีงบประมาณ เช่นงบประมาณปี 2550 YY=50 • 1 = เงินงบประมาณ • 0 = งบกลาง • เช่น5010500 – งบกลาง-งบรายจ่ายอื่น • 2. รหัสงบประมาณ –รหัสงบประมาณของของสำนักงบประมาณที่จัดสรรมาให้ใช้จัดซื้อ-จ้างรายการนั้น • 3. กิจกรรมหลัก – ระบบจะกำหนดรหัสของสำนักงบประมาณให้โดยอัตโนมัติ