1.08k likes | 1.25k Views
ระบบ GFMIS. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ .2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 6 ฉบับ - พ.ศ.2535 ใช้บังคับ 1 เมษายน 2535
E N D
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุพ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 6 ฉบับ - พ.ศ.2535 ใช้บังคับ 1 เมษายน 2535 - (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2538 ใช้บังคับ 1 มกราคม 2539 - (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2539 ใช้บังคับ 4 กันยายน 2539 - (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2541 ใช้บังคับ 27 กุมภาพันธ์ 2542 - (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2542 ใช้บังคับ 15 มิถุนายน 2542 - (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2545 ใช้บังคับ 26 ธันวาคม 2545
หมวดที่ 1 ข้อความทั่วไป ส่วนที่ 1 คำนิยาม ส่วนที่ 2 การใช้และการมอบอำนาจ ส่วนที่ 3 บทกำหนดโทษ ส่วนที่ 4 คณะกรรมการ กวพ. หมวดที่ 2 การจัดหา ส่วนที่ 1 บททั่วไป ส่วนที่ 2 การซื้อการจ้าง ส่วนที่ 3 การจ้างที่ปรึกษา ส่วนที่ 4การจ้างออกแบบและควบคุมงาน ส่วนที่ 5 การแลกเปลี่ยน ส่วนที่ 6 การเช่า ส่วนที่ 7 สัญญาและหลักประกัน ส่วนที่ 8 การลงโทษผู้ทิ้งงาน หมวดที่ 3 การควบคุมและการจำหน่ายพัสดุ ส่วนที่ 1 การยืม ส่วนที่ 2 การควบคุม ส่วนที่ 3 การจำหน่าย หมวดที่ 4 บทเฉพาะกาล โครงสร้างระเบียบ
ขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธีขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธี 1 ทำรายงานขอซื้อ/จ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ ที่ดิน (28) หัวหน้าส่วนราชการ 2 ให้ความเห็นชอบ (29) พัสดุทั่วไป (27) 3 แต่งตั้งคณะกรรมการ(34) • ตกลงราคา (19,39) • สอบราคา (20,40-43) • ประกวดราคา(21,44-56) • วิธีพิเศษ ( 23,57,24,58) • กรณีพิเศษ ( 26,59) • e-Auction(ระเบียบ49) 4 ดำเนินการ
- หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ขออนุมัติซื้อ/ จ้าง ( 65 – 67 ) 5 6 ทำสัญญา ( 132 – 135 ) - หัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการ การซื้อการจ้างทั่วไป (71) เปลี่ยนแปลงรายการ ( 136) 7 ตรวจรับ การจ้างก่อสร้าง ( 72-73 ) 8 เบิกจ่าย บอกเลิก (137-138),140 งด / ลดค่าปรับ ขยายเวลา (139 ) 9 การถอนหลักประกัน(144)
ข้อ 4 ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นผู้รักษาการณ์ตามระเบียบนี้
หมวด 1 ข้อความทั่วไป ส่วนที่ 1 นิยาม
การพัสดุ • การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่าการควบคุม การจำหน่าย และการดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้
พัสดุ • วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
การซื้อ • การซื้อพัสดุทุกชนิด ทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง บริการที่เกี่ยวเนื่องต่างๆ การจ้างทำของและการรับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์ การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมการจ้างลูกจ้างตามระเบียบกระทรวงการคลัง การจ้าง
เงินงบประมาณ = งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมและเงินซึ่งส่วนราชการได้รับไว้โดยได้รับอนุญาต จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลังให้ไม่ต้องส่งคลัง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ แต่ไม่รวมถึง เงินกู้ และ เงินช่วยเหลือ ตามระเบียบนี้ เงินกู้ = เงินกู้ตามกฎหมายว่าด้วยการให้อำนาจกระทรวงการคลัง กู้เงินจากต่างประเทศ เงินช่วยเหลือ = เงินที่ได้รับความช่วยเหลือจาก รัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ สถาบันการเงินระหว่างประเทศ องค์การต่างประเทศทั้งในระดับรัฐบาล และ ที่มิใช่รัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนต่างประเทศ
ส่วนราชการ= กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือ หน่วยงาน อื่นใดของรัฐทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคหรือในต่างประเทศ แต่ไม่รวมถึง รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบ บริหารราชการส่วนท้องถิ่น หรือ หน่วยงานอื่น ซึ่งมี ฎหมายบัญญัติ ให้มีฐานะ เป็น ราชการบริหาร ส่วนท้องถิ่น
“หัวหน้าส่วนราชการ” - ราชการบริหารส่วนกลาง = อธิบดี/ หน.ส่วนราชการที่เรียกอย่างอื่น และ มีฐานะ เป็นนิติบุคคล - ราชการบริหารส่วนภูมิภาค = ผู้ว่าราชการจังหวัด
เกี่ยวกับการพัสดุ หรือ คือ 1 จนท.ที่ดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่ ระเบียบ สร.[1-3] ข้อ 5 คำนิยาม จนท.พัสดุ 2 ผู้ที่หน.ส่วนราชการแต่งตั้ง
หัวหน้า จนท.พัสดุ • หัวหน้าหน่วยงานระดับกอง หรือ ฐานะเทียบเท่ากอง ทำงานเกี่ยวกับการพัสดุ 2. ข้าราชการอื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจาก หน.ส่วนราชการ
ส่วนที่ 2 การใช้บังคับและการมอบอำนาจ
ข้อ 6 ระเบียบนี้ใช้บังคับ แก่ 3 องค์ประกอบ 1. ส่วนราชการ 2. การดำเนินการเกี่ยวกับการพัสดุ 3. 3 เงิน - 1. เงินงบประมาณ - 2. เงินกู้ - 3. เงินช่วยเหลือ
ข้อ 7กห. กำหนดให้ส่วนราชการ ผบช.มีอำนาจตามระเบียบนี้เป็นไปตามที่ กห.กำหนด
ข้อ 9 การมอบอำนาจ ผู้มีอำนาจจะมอบอำนาจ เป็นหนังสือ ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดก็ได้โดยคำนึงถึงตำแหน่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ เมื่อได้รับมอบต้องรับมอบ ต้องสำเนาให้ สตง.ทราบ มอบช่วงไม่ได้ เว้น - ผวจ. 2กรณี - ตามระเบียบ กห.
บทลงโทษทางวินัยต่อเจ้าหน้าที่ทำผิด ระเบียบ ฯ ข้อ 10 ผู้มีอำนาจ หรือ หน้าที่ หรือผู้หนึ่งผู้ใด ดำเนินการตามระเบียบนี้ กระทำการโดย - จงใจ - ประมาทเลินเล่อ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบ - เจตนาทุจริต หรือ - ปราศจากอำนาจ - นอกเหนืออำนาจหน้าที่
บทลงโทษทางวินัยต่อเจ้าหน้าที่ทำผิด ระเบียบ ฯ ข้อ 10 - รวมทั้งมีพฤติกรรมเอื้ออำนวย แก่ผู้เสนอราคา / งาน ให้มีการขัดขวางการแข่งขันราคา อย่างเป็นธรรม ถือว่าผู้นั้น กระทำผิดวินัยตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการ หรือ ตามกฎหมายเฉพาะของส่วนราชการนั้นภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้
บทลงโทษทางวินัยต่อเจ้าหน้าที่ทำผิด ระเบียบ ฯ ข้อ 10 (1) เจตนาทุจริต หรือ เป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายอย่างร้ายแรง ลงโทษอย่างต่ำปลดออก (2) ทางราชการเสียหาย แต่ไม่ร้ายแรง ลงโทษอย่างต่ำตัดเงินเดือน (3) ทางราชการไม่เสียหาย ลงโทษภาคทัณฑ์ หรือ ว่ากล่าวตักเตือน เป็นลายลักษณ์อักษร การลงโทษ (1) หรือ (2) ไม่พ้นความผิดทางแพ่ง หรือ อาญา (ถ้ามี)
ส่วนที่ 4 คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ
ข้อ 11 คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ • ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้แทนกระทรวงกลาโหมผู้แทนสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินผู้แทนสำนักงานอัยการสูงสุดผู้แทนสำนักงบประมาณผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาผู้แทนสำนักงาน ป.ป.ช. ผู้แทนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีผู้แทนสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผู้แทนสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกินห้าคน เป็นกรรมการและให้เจ้าหน้าที่กรมบัญชีกลาง เป็นกรรมการและเลขานุการ กับให้ กวพ.แต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการไม่เกินสองคน • ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง มีวาระอยู่ในตำแหน่ง คราวละสองปี ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้
หมวด 2 การจัดหา ส่วนที่ 1 บททั่วไป
ข้อ 13 หลังจากได้ทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้ในการจัดหาแล้วให้ส่วนราชการรีบดำเนินการให้เป็นไปตามแผนและตามขั้นตอนของระเบียบนี้ ในส่วนที่ ๒ส่วนที่ ๓หรือส่วนที่ ๔แล้วแต่กรณีเพื่อให้พร้อมที่จะทำสัญญาได้ทันทีเมื่อได้รับอนุมัติทางการเงินแล้ว
ข้อ 15 ทวิ การจัดหาพัสดุตามระเบียบนี้ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบใน แต่ละขั้นตอนของการจัดหา ต้องดำเนินการโดย - เปิดเผย - โปร่งใส - เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
ส่วนที่ 2 การซื้อการจ้าง
การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทยการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย ข้อ๑๖ให้ส่วนราชการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย • ห้ามกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะซึ่งอาจมีผลกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตหรือผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทยสามารถเข้าแข่งขันกันในการเสนอราคากับทางราชการ • มีประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้ว ให้กำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะหรือรายการในการก่อสร้างตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือระบุเฉพาะหมายเลขมาตรฐานก็ได้
การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะการกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ 1. ไม่กีดกันสินค้าไทย 2. ไม่กำหนด สเปคใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง เป็นการเฉพาะ 3. ไม่ระบุยี่ห้อ 4. งานก่อสร้างระบุยี่ห้อได้ในกรณีจำเป็น แต่ต้องให้เทียบเท่าได้
มอก.+ ISO มอก. ISO จดทะเบียน TOR TOR สิทธิ ข้อ ๓ ได้ มอก.+IsO ทำในประเทศ แข่งกันเอง ๑๖(๕) วรรค ๑ ๓ ๓ ๓ มอก.+ISO ได้สิทธิ +๕% +๓% ได้ มอก./IsO ทำในประเทศ ๑๖ (๕) วรรค ๒๑๖ (๖) ๓ ๓ ๓ มอก.+ISO ได้สิทธิ +๑๐% +๗% มอก./ISO ได้สิทธิ +๗% +๕% Spec. ตาม มอก. ทำในประเทศ ๑๖ (๗) (ก) ๑๖ (๗) (ข) - - - 3 เปิดเสรี ทำในประเทศ จดทะเบียน ได้สิทธิ +๗% +๕% ๑๖ (๘) 8 8 8 8 เปิดเสรี ระบุแหล่งผลิต/แหล่งกำเนิด แข่งขันทั่วไป ของไทย+๕% ๓% ๑๖ (๑๑) การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย
เจ้าหน้าที่พัสดุ - อธิบดี - ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ผู้มีอำนาจอนุมัติ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ
คณะกรรมการต่างๆ ผู้ควบคุมงาน
ข้อ 18 วิธีซื้อ / วิธีจ้าง มี 6 วิธี 1. วิธีตกลงราคา 2. วิธีสอบราคา 3. ประกวดราคา 4. วิธีพิเศษ 5. วิธีกรณีพิเศษ 6. วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
ความหมายของการซื้อการจ้าง ระเบียบสำนักนายก ฯ ข้อ 19 / 20 / 21 กรณีใช้วงเงินกำหนดวิธีการ วิธีตกลงราคา=คราวหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท วิธีสอบราคา = คราวหนึ่งเกิน 100,000 บาท แต่ ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา = คราวหนึ่งเกิน 2,000,000 บาท ขึ้นไป วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามหลักเกณฑ์ ที่กระทรวงการคลังกำหนด
กรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขกำหนดวิธีการกรณีใช้วงเงินและเงื่อนไขกำหนดวิธีการ วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท เงื่อนไขตามข้อ 23 หรือ 24 กรณีใช้เงื่อนไขกำหนดวิธีการ วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข
*ข้อกำหนดพิเศษ* การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง ตาม ระเบียบสำนักนายก ฯ ข้อ 22 - การซื้อ / การจ้างตาม ข้อ 19 (ต.) และ ข้อ 20 (ส.) ถ้าผู้สั่งซื้อ / สั่งจ้างเห็นสมควรจะสั่งให้กระทำโดยวิธีที่กำหนด ไว้สำหรับวงเงินที่สูงกว่า ก็ได้ - การแบ่งซื้อ / แบ่งจ้าง โดยลดวงเงินที่จะซื้อ / จ้างในครั้งเดียวกัน เพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด / เพื่อให้อำนาจสั่งซื้อ / สั่งจ้างเปลี่ยนไป วิธีการเปลี่ยนไป *** จะกระทำมิได้ ***
วงเงินวิธีดำเนินการตามระเบียบ สร. ว่าด้วยการพัสดุ (ฉบับที่2) พ.ศ.2538ข้อ 19-21 ลำดับ วิธีดำเนินการ วงเงินตามระเบียบฯ (ฉบับที่2) พ.ศ.2538 หมายเหตุ 1 วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท เกินกว่า 100,000 บาท แต่ ไม่เกิน 2,000,000 บาท 2 วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา เกินกว่า2,000,000 บาท 3 วิธีพิเศษ เกินกว่า 100,000 บาท 4 ตามหลักการ ไม่จำกัดวงเงินแต่ไม่เกินวงเงิน งบประมาณที่ได้รับ 5 วิธีกรณีพิเศษ หมายเหตุ การดำเนินการโดยวิธีกรณีพิเศษ คงเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
คณะกรรมการต่างๆ การดำเนินการซื้อ / จ้าง แต่ละครั้งให้ ข้อ 34 • หน.ส่วนราชการดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ 1. คณะ กก.เปิดซองสอบราคา 2. คณะ กก.รับและเปิดซองประกวดราคา 3. คณะ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา 4. คณะ กก.จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ 5. คณะ กก.จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ 6. คณะ กก.การตรวจรับพัสดุ 7. คณะ กก.ตรวจการจ้าง +ผู้ควบคุมงาน
เพิ่มเติม • คณะกรรมการการกำหนดราคากลาง • คณะกรรมประกวดราคาด้วยวิธีทางอิเลคโทรนิคส์ • คณะกรรมการกำหนด Tor
ข้อ 35 องค์ประกอบของคณะกรรมการ ผู้แต่งตั้ง คือ หัวหน้าส่วนราชการ • คณะ กก.แต่ละคณะให้ประกอบด้วย • ประธาน กก. 1 คน • กก.อย่างน้อย 2 คน • เว้น e-auction • โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการระดับ 3 หรือ • เทียบเท่าขึ้นไป • ในกรณีจำเป็น / เป็นประโยชน์ต่อทางราชการจะแต่งตั้ง • บุคคลที่มิใช่ข้าราชการร่วมเป็น กก.ได้ • ถ้าประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ หน.ส่วนราชการแต่งตั้งข้าราชการที่มีคุณสมบัติ ทำหน้าที่ประธานแทน
ข้อ 35 2 กรณีเมื่อถึงกำหนดเวลา แล้วประธานไม่มา ให้ กรรมการ ที่มาประชุมเลือก กก.คนหนึ่ง ทำหน้าที่ประธานกก.ในเวลานั้น กรณีที่ 1 เปิดซองสอบราคา42(1) ไม่พิจารณาผล กรณีที่ 2 รับซองประกวดราคา (รับ + เปิดซองประกวดราคา)
ข้อ 35 วรรค 3 ข้อห้าม ในการตั้งคณะกรรมการ (ระเบียบพัสดุ) • สอบราคา • - คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • - คณะกรรมการตรวจรับ • ประกวดราคา • - คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • - คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • - คณะกรรมการตรวจรับ • ข้อยกเว้น • - ไม่ห้ามสำหรับคณะกรรมการตรวจการจ้าง • (น.สำนักนายกรัฐมรตรีที่ สร. 1001/1223 ลง 19 มี.ค. 22) ห้าม
1. คณะ กก.เปิดซองสอบราคา 2. คณะ กก.รับและเปิดซองประกวดราคา 3. คณะ กก.พิจารณาผลการประกวดราคา 4. คณะ กก.จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ 5. คณะ กก.จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ 6. คณะ กก.การตรวจรับพัสดุ 7. คณะ กก.ตรวจการจ้าง กก.e-Auctionห้ามเป็นกรรมการตรวจรับ
ข้อ 35 วรรค 4 กก.ทุกคณะ เว้นคณะ กก.รับและเปิดซองประกวดราคา ควรตั้งผู้ชำนาญการ / ผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุ / งานจ้างนั้นๆ เข้าร่วมเป็นกก.ด้วย ข้อ 35 วรรค 5 การซื้อ / จ้างวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท จะแต่งตั้งข้าราชการ/ลูกจ้างประจำซึ่งมิใช่ผู้จัดซื้อ/จ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างนั้น ปฏิบัติหน้าที่เช่นเดียวกับ กก.ตรวจรับ
ข้อ 36 องค์ประชุมและมติของคณะกรรมการ • ในการประชุมของคณ ะกก.ต้องมี กก. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จำนวน กก. ทั้งหมด • ประธานและกก.แต่ละคนมีเสียงหนึ่งในการลงมติ • มติของ กก. ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน • กก..ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงชี้ขาด • ยกเว้น คณะกก.ตรวจรับพัสดุ / กก.ตรวจการจ้าง ให้ถือมติเอกฉันท์ • กก.ของคณะใด ไม่เห็นด้วย กับมติของคณะ กก. ให้ทำบันทึกความ • คิดเห็นแย้ง ไว้ด้วย