1 / 23

วิสัยทัศน์ “ ยกระดับโอ ทอป ต่อยอดสู่สากล ” เป้าหมาย

ยุทธศาสตร์โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ พ.ศ.2556-2558. วิสัยทัศน์ “ ยกระดับโอ ทอป ต่อยอดสู่สากล ” เป้าหมาย “ ผลิตภัณฑ์โอทอ ปได้รับ การพัฒนา ยกระดับมาตรฐานคุณภาพ สินค้าและบริการ เข้าถึงแหล่งทุน และ การตลาดเชิงรุก ทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ ”. ประเด็นยุทธศาสตร์.

felix-noble
Download Presentation

วิสัยทัศน์ “ ยกระดับโอ ทอป ต่อยอดสู่สากล ” เป้าหมาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ยุทธศาสตร์โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ พ.ศ.2556-2558 วิสัยทัศน์ “ยกระดับโอทอป ต่อยอดสู่สากล” เป้าหมาย “ผลิตภัณฑ์โอทอปได้รับการพัฒนา ยกระดับมาตรฐานคุณภาพสินค้าและบริการ เข้าถึงแหล่งทุนและการตลาดเชิงรุกทั้งในประเทศและต่างประเทศ”

  2. ประเด็นยุทธศาสตร์ • พัฒนาศักยภาพกลุ่มผลิตภัณฑ์ (QUADRANT) • พัฒนาระบบสนับสนุนกิจการโอทอป

  3. กระบวนการยกร่างยุทธศาสตร์ฟื้นฟูโอทอป ต่อยอดสู่สากล แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2555-2558 การพัฒนา OTOP แต่ละมิติ บริหารจัดการโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพ ด้วยการสนับสนุนให้ชุมชน วิสาหกิจชุมชนใช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นผนวกกับองค์ความรู้สมัยใหม่เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพสินค้าและบริการ การเข้าถึงแหล่งทุนและการตลาดเชิงรุกทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยส่งเสริมให้มีศูนย์กระจายและแสดงสินค้าถาวรในภูมิภาคและเมืองท่องเที่ยวหลักที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวและการส่งออก พัฒนาคุณภาพ 1-5 ดาว ยกระดับสู่ SMEs มองคุณภาพ ควบคู่ปริมาณ/ศักยภาพในการขยาย (Quadrant) พัฒนาตามประเภทอุตสาหกรรม พัฒนาปัจจัยสนับสนุนในภาพรวมทั้งระบบ นายกรัฐมนตรีมอบนโยบายการพัฒนา OTOP โครงการประชุมสัมมนาเพื่อขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ วันที่ 27 ธันวาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทาราดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่ จัดประชุมรับฟังความคิดเห็น การลงทะเบียน OTOP ปี 2555 -กลุ่ม/ผู้ประกอบการ 36,092 ราย -ผลิตภัณฑ์ 71,739 ผลิตภัณฑ์ • 11 มกราคม 2556 บุคลากรสังกัดกรมการพัฒนาชุมชนทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จำนวน 30 คน • 15 มกราคม 2556 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 20 หน่วยงาน • 22 มกราคม 2556 ผู้ประกอบการ OTOP กลุ่ม A,B,C,D และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 160 คน ยกร่างยุทธศาสตร์ฟื้นฟูโอทอป ต่อยอดสู่โลก • จำแนกประเภทผลิตภัณฑ์ เป็น 4 Quadrant • สำรวจประเภทการบริการที่ผู้ประกอบการต้องการจากภาครัฐ

  4. แนวคิดการส่งเสริม OTOP ตาม Quadrant สูง ดาวเด่น คุณภาพสูง ผลิตได้มาก เอกลักษณ์ คุณภาพสูง ผลิตน้อยชิ้น พัฒนา คุณภาพปานกลาง ผลิตได้มาก ปรับตัว ผลิตง่าย ได้จำนวนน้อย B A A แบ่งOTOPเป็น 4 กลุ่ม ตามคุณภาพ และปริมาณที่สามารถผลิตได้ B คุณภาพ C D C D ต่ำ สูง ปริมาณ

  5. ความต้องการของ OTOP ที่ลงทะเบียนปี 2555ในการรับบริการจากภาครัฐ จำแนกตามประเภทผลิตภัณฑ์ และกลุ่ม Quadrant ประเภท ผลิตภัณฑ์ Quadrant A B C D ข้อมูลความต้องการที่มากที่สุด (ลำดับที่ 1) ของผู้ประกอบการ OTOP ในการรับบริการจากภาครัฐ จำนวน 46,201 ผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ 64 จาก 71,739 ผลิตภัณฑ์ ) จำนวน 76 จังหวัด (ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556) หมายเหตุ : สำรวจความต้องการจำนวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ทุน เช่น เงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ 2)การตลาด เช่น สถานที่จำหน่ายสินค้าทั้งในและต่างประเทศ 3) การบริหารจัดการ เช่น แผนธุรกิจ การดำเนินธุรกิจ 4)องค์ความรู้ เช่น การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์,มาตรฐานผลิตภัณฑ์ การแปรรูป 5) การผลิต เช่น วัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ บรรจุภัณฑ์ (ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556)

  6. ผลจากการแสดงตนของกลุ่มฯ (แพร่) กลุ่ม A : ดาวเด่นสู่สากล 47 ผลิตภัณฑ์ กลุ่ม B : อนุรักษ์ สร้างคุณค่า 186 ผลิตภัณฑ์ กลุ่ม C : พัฒนาสู่การแข่งขัน 187 ผลิตภัณฑ์ กลุ่ม D : ปรับตัวสู่การพัฒนา 133 ผลิตภัณฑ์

  7. ผลจากการพิจารณาของ กก.ส่วนกลาง Quadrant ประเภท ผลิตภัณฑ์

  8. OTOP ที่เข้าคัดสรร 2555 Quadrant ประเภท ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่เข้าคัดสรรส่วนใหญ่เป็น C และ B มีเครื่องดื่มเป็น A และสมุนไพร เป็น C

  9. ผลการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP)ปี 2555(ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.พ.2556) ดาว ประเภท ผลิตภัณฑ์ - ผลิตภัณฑ์ที่เข้าคัดสรร 215ผลิตภัณฑ์ ผ่านการคัดสรร 183ผลิตภัณฑ์ ไม่ผ่าน 32ผลิตภัณฑ์ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ ไม่มีมาตรฐานรับรอง - ผลิตภัณฑ์ที่เข้าคัดสรร ส่วนใหญ่เป็นระดับ 4 ดาว จำนวน 60ผลิตภัณฑ์ (32.79%) รองลงมาคือ ระดับ 3 ดาว จำนวน 55ผลิตภัณฑ์ (30.05%) ระดับ 2 ดาว จำนวน 50ผลิตภัณฑ์ (27.32%) ระดับ 5 ดาว จำนวน 14ผลิตภัณฑ์ (7.65%) และน้อยที่สุดคือระดับ 1 ดาว 4ผลิตภัณฑ์(2.19%)

  10. ข้อมูลความต้องการของผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP จากการประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้ประกอบการ OTOP จำนวน 160 คน เมื่อ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๖ ณ ศูนย์ประชุมวายุภักดิ์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มกราคม 2556

  11. ความต้องการของ OTOP ที่ลงทะเบียนปี 2555ในการรับบริการจากภาครัฐ จำแนกตามประเภทผลิตภัณฑ์ และกลุ่ม Quadrant ประเภท ผลิตภัณฑ์ Quadrant A B C D ข้อมูลความต้องการที่มากที่สุด (ลำดับที่ 1) ของผู้ประกอบการ OTOP ในการรับบริการจากภาครัฐ จำนวน 46,201 ผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ 64 จาก 71,739 ผลิตภัณฑ์ ) จำนวน 76 จังหวัด (ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556) หมายเหตุ : สำรวจความต้องการจำนวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ทุน เช่น เงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ 2)การตลาด เช่น สถานที่จำหน่ายสินค้าทั้งในและต่างประเทศ 3) การบริหารจัดการ เช่น แผนธุรกิจ การดำเนินธุรกิจ 4)องค์ความรู้ เช่น การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์,มาตรฐานผลิตภัณฑ์ การแปรรูป 5) การผลิต เช่น วัตถุดิบ วัสดุ อุปกรณ์ บรรจุภัณฑ์ (ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556)

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1พัฒนาศักยภาพกลุ่มผลิตภัณฑ์ (Quadrant) เป้าประสงค์ : ผลิตภัณฑ์โอทอปมีศักยภาพการแข่งขันสูงขึ้นสามารถขยายฐานสู่ตลาดต่างประเทศได้มากขึ้น

  13. ตัวอย่างโครงการ/กิจกรรมสำคัญการพัฒนาเฉพาะกลุ่มผลิตภัณฑ์ (Quadrant) และประเภทผลิตภัณฑ์

  14. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาระบบสนับสนุนโอทอป เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ผลิตภัณฑ์โอทอปมียอดจำหน่ายสูงขึ้น

  15. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ จุดเน้น1. บูรณาการมิติการพัฒนา OTOP 4 มิติ คือ มิติพัฒนาคุณภาพดาว มิติยกระดับสู่ SMEs มิติพัฒนาตามประเภทอุตสาหกรรม ร่วมกับมิติการพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ (Quadrant) 2. มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีการจำแนกตามคุณภาพสินค้า ปริมาณการผลิต เป็น 4 กลุ่ม (Quadrant) A ดาวเด่น คุณภาพสูง ผลิตได้มาก, B เอกลักษณ์ คุณภาพสูง ผลิตน้อยชิ้น, C พัฒนา คุณภาพปานกลาง ผลิตได้มาก, D ปรับตัว ผลิตง่าย ได้จำนวนน้อย กลยุทธ์ 4 กลยุทธ์ สนับสนุนสินค้าดาวเด่น สู่สากล พัฒนาสินค้าอนุรักษ์ สู่สินค้าดาวเด่น พัฒนาสินค้าพัฒนา สู่สินค้าดาวเด่น พัฒนาสินค้าปรับตัว สู่สินค้าพัฒนาหรืออนุรักษ์

  16. พัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์พัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์ สูง ดาวเด่น คุณภาพสูง ผลิตได้มาก เอกลักษณ์ คุณภาพสูง ผลิตน้อยชิ้น พัฒนา คุณภาพปานกลาง ผลิตได้มาก ปรับตัว ผลิตง่าย ได้จำนวนน้อย B สู่สากล A A B คุณภาพ D C C D ต่ำ สูง ปริมาณ

  17. ผู้รับผิดชอบหลัก : ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1พัฒนาศักยภาพกลุ่มผลิตภัณฑ์ (Quadrant) เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ผลิตภัณฑ์โอทอปมีศักยภาพการแข่งขันสูงขึ้นสามารถขยายฐานสู่ตลาดต่างประเทศได้มากขึ้น โอทอปมีศักยภาพ การแข่งขันสูงขึ้น สามารถขยายฐาน สู่ตลาดต่างประเทศ ได้มากขึ้น C C B A A D A B กลยุทธ์ พัฒนาสินค้าพัฒนา สู่สินค้าดาวเด่น (ก.อุตสาหกรรม ก.เกษตร) สนับสนุนสินค้าดาวเด่นสู่สากล (ก.พาณิชย์) พัฒนาสินค้าอนุรักษ์ สู่สินค้าดาวเด่น (ก.วัฒนธรรม TCDCกท.) พัฒนาสินค้าปรับตัว สู่สินค้าพัฒนาหรืออนุรักษ์ (ก.มท(พช) สถ. ปค.) • แผนงานการมูลค่า เสริมอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ในตลาดเฉพาะ (วธ TCDC ศธ สถาบันเฉพาะทาง) • ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าด้วยเรื่องราว ผลิตภัณฑ์ และการสร้างตราสินค้า • เสริมสร้างระบบการถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น • เสริมสร้างองค์ความรู้ การสร้างตำนานผลิตภัณฑ์ • แผนงานการเพิ่มช่องทางการตลาด (พณกตททท) • ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการ ตลาดและจำหน่ายสินค้าสู่ตลาดสากล • พัฒนาและชื่อมโยงสินค้า OTOP กับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ • แผนงานการคัดสรรและพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ (พช ศธ ภาคีที่เกี่ยวข้อง) • ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานและการคัดสรร สุดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP • แผนงานการสร้างระบบพี่เลี้ยง • ส่งเสริมให้มีระบบพี่เลี้ยง ในการให้คำปรึกษาในการผลิตและดำเนินธุรกิจ • แผนงานการบริหารจัดการและเสริมสร้างองค์ความรู้ (รง ศธ ) • พัฒนาทักษะผู้ผลิตผู้ประกอบการด้านต่างๆ และเพิ่มทางเลือกด้วยการส่งเสริมอาชีพเสริม • แผนงานส่งเสริมมาตรฐานสินค้า • การพัฒนาคุณภาพกระบวนการผลิตให้มีมาตรฐาน • แผนงานการสร้างเครือข่าย การรับช่วงการผลิต (พชกษ อก ภาคเอกชน) • ส่งเสริมการเข้าร่วมเป็นกลุ่มเครือข่ายและเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิต • แผนงานการคัดสรรและพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ (พชศธ ภาคี ที่เกี่ยวข้อง) • พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานและการคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP • แผนงานการเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์และประสิทธิภาพการผลิตสู่การแข่งขัน (อก TCDC) • ส่งเสริมกระบวนการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความหลากหลายและตรงกับความต้องการของตลาด • ส่งเสริมกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่องและคงคุณภาพตามมาตรฐาน • แผนงานการเพิ่มช่องทางการตลาด ทั้ในและต่างประเทศ (พณ กตไปรษณีย์) • ส่งเสริมการเพิ่มช่องทางการตลาด อาทิ อินเตอร์เน็ต สื่อออนไลน์ การจำหน่ายทางไปรษณีย์ • แผนงานการคัดสรรและพัฒนายก ระดับผลิตภัณฑ์ (พช ศธ ภาคี ที่เกี่ยวข้อง) • ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานและการคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP • แผนงานการเพิ่มช่องทางการตลาด (พณกต ภาคเอกชน) • เพิ่มช่องทางการจำหน่าย OTOPonline,การขายตรง MLM,ฝากทูตไปขาย,จำหน่ายในห้างสรรพสินค้า ,ศูนย์กระจายสินค้า • แผนงานสร้าง Branding และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์/บรรจุภัฑ์ (TCDCนว สถาบันเฉพาะทาง) • พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะ • สร้างความแตกต่างและสร้างมูลค่าเพิ่มให้ • สอดคล้องตามความต้องการของตลาด • แผนงานส่งเสริมมาตรฐานสินค้าระดับสากล • ส่งเสริมการดำเนินธุรกิจสู่สากลและความรู้พื้นฐานประเทศอาเซียน • ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมมาใช้ในกระบวนการผลิต บริหารจัดการ • แผนงานการคัดสรรและพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ (พชศธ ภาคีที่เกี่ยวข้อง) • ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐานและการคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP แผนงาน/โครงการ

  18. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาระบบสนับสนุนโอทอป • จุดเน้น: พัฒนาระบบสนับสนุน OTOP โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนอย่างบูรณาการทั้งระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและท้องถิ่น เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานOTOP และการเพิ่มยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ให้สูงขึ้น ตามเป้าหมายที่รัฐบาลตั้งไว้ • เป้าหมาย: รายได้กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เพิ่มสูงขึ้น 100,000 ล้านบาท ในปี 2558 • กลยุทธ์ : 4 กลยุทธ์ • เสริมสร้างความเข้มแข็งผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และเครือข่าย OTOP • ขยายช่องทางการตลาด • เพิ่มโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน • พัฒนาระบบบริหารจัดการ

  19. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 A : ดาวเด่นสู่สากล จำนวน 5,678 ผลิตภัณฑ์ (คุณภาพสูง ผลิตได้มาก) A สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (985 ผลิตภัณฑ์) (พณ. กต. วท.) “มุ่งเน้นการเพิ่มโอกาสเข้าถึงตลาดเป้าหมาย” ผ้าและเครื่องแต่งกาย (1,315 ผลิตภัณฑ์) (พณ. กต. ) ของใช้ ฯ (1,447 ผลิตภัณฑ์) (พณ. กต. ) เครื่องดื่ม (372 ผลิตภัณฑ์) (พณ. กต. วท.) อาหาร (1,568 ผลิตภัณฑ์) (พณ. กต. สสว. อก.) ขยายตลาดสู่สากล ใน ประเทศคู่ค้าใหม่ และการ จับคู่เจรจาธุรกิจ (พณ.,กต.) พัฒนาตลาดให้เข้าถึงลูกค้า โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าระดับสูง hi-end (พณ. กปส . ภาคเอกชน ) ให้ความรู้ในการดำเนิน ธุรกิจระหว่าง ประเทศ (พณ., สสว.) R&D ตลาด / พฤติกรรม ผู้บริโภคตามเทรนด์แฟชั่น (พณ. ,TCDC., สถาบัน อุตสาหกรรมสิ่งทอ) ขยายตลาดสู่สากล ในประเทศคู่ ค้าใหม่ และการจับคู่เจรจาธุรกิจ (พณ.,กต.) ขยายตลาดภายใน ประเทศผ่านห้างสรรพสินค้าชั้นนำ(พณ.,กต.ภาคเอกชน) จัดตั้งศูนย์แสดง จำหน่ายและ กระจายสินค้า OTOP ทั้งในและ ต่างประเทศ (พณ.,กต.ภาคเอกชน) ให้ความรู้ในการดำเนินธุรกิจ ระหว่าง ประเทศ (พณ.,สสว.) พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตรงความ ต้องการลูกค้าและยังคงสะท้อน ภูมิปัญญาท้องถิ่น (วธ อก. TCDC สถาบันเฉพาะทาง) การประชาสัมพันธ์เชิงรุก เช่น จัดงาน Event ในต่างประเทศ (พณ.,กต., กท., กปส.) ขยายตลาดอาเซียนและประเทศคู่ค้าใหม่ (พณ.,กต.) เชื่อมโยงกับธุรกิจสปา ธุรกิจ เพื่อสุขภาพ (พณ ภาคเอกชน) จัดตั้งสถาบันตรวจสอบและ รับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ (อก วว วท)  ยกระดับผลิตภัณฑ์สู่าตร ฐานสากล เพื่อสร้างความมั่นใจ ในคุณค่าและความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์ (อก.วว วท) ให้ความรู้ด้านการดำเนิน ธุรกิจระหว่างประเทศ (พณ. สสว,กต) ขยายตลาดอาเซียน และประเทศคู่ค้าใหม่ และจับคู่เจรจาธุรกิจ (พณ.,กต.) ขยายตลาดภายในประเทศผ่านห้างค้าปลีกและห้างสรรพสินค้าชั้นนำ(พณ.,กต.ภาคเอกชน) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้เพื่อการตลาดและจำหน่าย สินค้า OTOP Online(ทก.) ส่งเสริมการขยายสาขาและ แหล่งผลิตในต่างประเทศ (พณ อก)  สร้างตราสินค้าให้เป็นที่ ยอมรับ (รสชาดและบรรจุภัณฑ์) (อก. TCDC สถาบันเฉพาะทาง) ขยายตลาดอาเซียนและประเทศ คู่ค้าใหม่ ภายใต้โครงการ “ครัวไทยสู่ครัวโลก” (พณ.,กต. สถาบันที่เกี่ยวข้อง) ขยายตลาดภายในประเทศผ่านห้างค้าปลีกที่เน้นผลิตภัณฑ์อาหารโดยเฉพาะและห้างสรรพสินค้า ชั้นนำ(พณ.,กต.ภาคเอกชน) เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์โดย กำหนดอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ (สถาบันอาหาร TCDC) พัฒนาผลิตภัณฑ์สู่มาตรฐาน สากล (อก. สถาบันที่เกี่ยวข้อง) ให้ความรู้ด้านการดำเนิน ธุรกิจระหว่างประเทศ (พณ. สสว,กต) • ก.พาณิชย์ • ก.สาธารณสุข/หน่วยวิจัย/ วช • ก.อุตสาหกรรม/สถาบันสิ่งทอ • สถาบันอาหาร/ก.อุตสาหกรรม/ ก.เกษตร/สถาบันการศึกษา • ก.วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 12

  20. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.2 B : เอกลักษณ์ สร้างคุณค่ากลุ่มลูกค้าเฉพาะ จำนวน 15,168 ผลิตภัณฑ์ (คุณภาพสูง ผลิตน้อยชิ้น) B สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร (781 ผลิตภัณฑ์) (วธ TCDC วท วว) “มุ่งเน้นการสร้างคุณค่ามูลค่าเพิ่มในตลาดเฉพาะ” ผ้าและเครื่องแต่งกาย (5,889 ผลิตภัณฑ์) (วธ TCDC กท สถาบันเฉพาะทาง) อาหาร (1,196 ผลิตภัณฑ์) (วธ TCDC กท สถาบันอาหาร) เครื่องดื่ม (155 ผลิตภัณฑ์) (วธ TCDC วท วว) ของใช้ ฯ (7,147 ผลิตภัณฑ์) (วธ TCDCกท สถาบันเฉพาะทาง) สร้างตำนานผลิตภัณฑ์ (พช สถาบันที่เกี่ยวข้อง) เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มี ความแตกต่างและสามารถ ยืดอายุผลิตภัณฑ์ได้ (อก TCDC) เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์กับ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ภัตตาคาร (พณ.,ภาคเอกชน, หอการค้า, กท.) สร้างตำนานผลิตภัณฑ์ (พช วว วท) พัฒนาอัตลักษณ์ของสินค้า โดยการสร้าง Idol ตัวแบบ (วทวว TCDC) การนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้เพื่อการ ตลาดและจำหน่ายสินค้าสู่ ตลาดสากล (ทก.) วิจัยและพัฒนาให้เห็น คุณประโยชน์ที่มีในผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะเฉพาะ (วท วว สกว) สร้างตำนานผลิตภัณฑ์ (พช ศธ สถาบันที่เกี่ยวข้อง) สร้างระบบการถ่ายทอด องค์ความรู้และภูมิปัญญา ท้องถิ่นเรื่องผ้า (วธ ศธ.) ส่งเสริมการจดทะเบียน ทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ลายการทอผ้า (พณ. ทป.) จัดงานแสดงเรื่องราว ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และประชาสัมพันธ์ให้เห็นถึงผลงานและคุณค่าของผลิตภัณฑ์ (วธ.,พณ., กท.) พัฒนาตลาดให้เข้าถึงลูกค้า เป้าหมาย การจัดแฟชั่นโชว์ใน ต่างประเทศ (พณ., กต., กท.) สร้างตำนานผลิตภัณฑ์ (พช. สถาบันที่เกี่ยวข้อง) สร้างระบบการถ่ายทอด องค์ความรู้แก่เยาวชนและสืบ สานภูมิปัญญาท้องถิ่น (ศธ. วธ. พช.) ยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มี มาตรฐานสู่สากล มีการนำ นวัตกรรมมาใช้เพื่อเพิ่มมูลค่า (อก. นว. TCDC) เชื่อมโยงช่องทางการ จำหน่ายกับอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว (กท ภาคเอกชน, หอการค้า,) ส่งเสริมการดำเนินงาน หมู่บ้าน OVC (พช. กท) สร้างตำนาน คุณค่าของ สมุนไพร (พช วว วท) วิจัยและพัฒนาคุณค่าของ สมุนไพรไทย (วท. วว. สกว.) พัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความ แตกต่างสามารถเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ (อก. TCDC) สร้างกระแสการใช้สมุนไพรไทย (กปส. กท.) เนำเสนอเรื่องราวของผลิตภัณฑ์ ผ่านภาพยนตร์ ละครทีวี (พณ.,วธ.,กท.) พัฒนาสถานที่ในชุมชนให้เป็น แหล่งสำหรับการบริการสมุนไพรที่ มีลักษณะเฉพาะ (พช , สถ ,กท,) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้เพื่อการตลาดและจำหน่าย สินค้า (ทก.) • ก.พาณิชย์ • ก.สาธารณสุข/หน่วยวิจัย/ วช • ก.อุตสาหกรรม/สถาบันสิ่งทอ • สถาบันอาหาร/ก.อุตสาหกรรม/ ก.เกษตร/สถาบันการศึกษา • ก.วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 12

  21. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.3 C : พัฒนาเข้าสู่ตลาดแข่งขัน จำนวน 23,489 ผลิตภัณฑ์ (คุณภาพปานกลาง ผลิตได้มาก) C สมุนไพรฯ (3,054 ผลิตภัณฑ์) (อก.วท วว) “มุ่งเน้นการควบคุมคุณภาพ เพิ่มผลิตภาพและประสิทธิภาพสู่การแข่งขัน” อาหาร (7,581 ผลิตภัณฑ์) (อก. กษ. สถาบันที่เกี่ยวข้อง) เครื่องดื่ม (1,137 ผลิตภัณฑ์) (อก. กษ. วว. วท.) ผ้าและเครื่องแต่งกาย (5,087 ผลิตภัณฑ์) (อก ศธ. สถาบันสิ่งทอ TCDC) ของใช้ ฯ (6,630 ผลิตภัณฑ์) (อก. สถาบันที่เกี่ยวข้อง TCDC ) • ส่งเสริมความรู้ด้าน • กระบวนการผลิตโดยผู้เชียวชาญ • เฉพาะด้าน (อก.นว. TCDC) • ส่งเสริมการผลิตที่เป็นมิตรกับ • สิ่งแวดล้อม (อก.) • พัฒนาทักษะผู้ผลิตให้มี • คุณภาพและมาตรฐานที่กำหนด • (รง.,อก.) • ส่งเสริมการเข้าร่วมงานแสดง • จำหน่ายสินค้าทั้งในระดับท้องถิ่น/ • ภาค/ประเทศ(พณ. พช. • ภาคเอกชน) • สนับสนุนเงินทุน เครื่องจักร • ในการผลิตบางกระบวนการ (กค. • สถาบันการเงิน) พัฒนาเชื่อมโยงงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรม เพื่อยกระดับ ผลิตภัณฑ์ (อก.,ศธ.(มทร.ธ.), สถาบัน อุตสาหกรรมสิ่งทอ, TCDC) เสริมสร้างองค์ความรู้ในการต่อ ยอดผลิตภัณฑ์ มีการวิเคราะห์ แนวโน้ม เทรนด์สินค้าในอนาคต (นว .TCDC ) เสริมสร้างอัตลักษณ์ด้วยเรื่องราว ภูมิปัญญาท้องถิ่น (วธ., ศธ.(มทร.ธ.)) จัดตั้งศูนย์แสดง จำหน่าย ผลิตภัณฑ์ ทั้งในและต่างประเทศ (พณ.,กต.หน่วยงานภาคเอกชน) เชื่อมโยงสินค้ากับอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว อุตสหกรรมภาพยนตร์ (กท. ภาคเอกชน) รณรงค์ให้มีการใช้ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ ทั้งในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน (นร.) พัฒนากระบวนการผลิตให้มี คุณภาพและมีประสิทธิภาพรวมถึง ลดเวลาผลิต (อก.) วิจัยพัฒนาเพื่อสร้างเรื่องราวให้ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม (อก., ศธ.(มทร.ธ.), วว วท) ยกระดับผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้ เข้าสู่มาตรฐานและให้เกิดประโยชน์ ต่อผู้บริโภค (อก.) ส่งเสริมการเข้าร่วมงานแสดง จำหน่ายสินค้าทั้งในระดับท้องถิ่น/ ภาค/ประเทศ (พณ. พช. ภาคเอกชน) สนับสนุนเงินทุน เครื่องจักรที่ ทันสมัย (กค. สถาบันการเงิน) ขยายช่องทางการตลาดผ่านห้าง ค้าปลีก (พณ. ภาคเอกชน) พัฒนาสินค้าให้มีลักษณะเฉพาะ ของลูกค้าแต่ละกลุ่ม (อก. TCDC) วิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์มุ่งเน้น ความปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และการแปรรูป (อก., กษ ., ศธ.(มทร.ธ.),, วว .,วท) เปิดตลาดต่างประเทศเพิ่มขึ้น (พณ) พัฒนาระบบของฝาก OTOP ชุมชน เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว (พณ. กท.) เสริมสร้างนวัตกรรมเพื่อต่อยอด การผลิต (นว. TCDC) วิจัยพัฒนาปรับปรุงรสชาติของ เครื่องดื่มให้ตรงความต้องการ ผู้บริโภค (อก., ศธ.(มทร.ธ.) ,วว, วท) ยกระดับผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสู่ มาตรฐานสากล (อก.) วิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์มุ่งเน้น ความปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และการแปรรูป (อก., ศธ.(มทร.ธ.), วว., วท) เชื่อมโยงแหล่งวัตถุดิบที่มี คุณภาพ และราคาถูกให้แก่ ผู้ผลิตฯ OTOP (กษ.) เชื่อมโยงสินค้ากับแหล่ง จำหน่าย และห้างค้าปลีกทั้งใน ระดับท้องถิ่น/ภาค/ประเทศ (พณ. พช. ภาคเอกชน) สนับสนุนเงินทุน เครื่องมือ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพในการ ผลิต (กค. สถาบันการเงิน) • ก.พาณิชย์ • ก.สาธารณสุข/หน่วยวิจัย/ วช • ก.อุตสาหกรรม/สถาบันสิ่งทอ • สถาบันอาหาร/ก.อุตสาหกรรม/ ก.เกษตร/สถาบันการศึกษา • ก.วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 12

  22. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.4 D : ปรับตัวเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานการผลิต จำนวน 27,395 ผลิตภัณฑ์ (คุณภาพต่ำ ผลิตง่าย ได้จำนวนน้อย) D สมุนไพรฯ (3,045 ผลิตภัณฑ์) (พช. อก. ศธ รง.) “มุ่งเน้นการรับช่วงการผลิตโดยคำนึงถึงทักษะฝีมือเดิมและเพิ่มทางเลือกการมีอาชีพเสริม” อาหาร (8,055 ผลิตภัณฑ์) (พช. สถ. ปค. ศธ. รง.) ของใช้ ฯ (10,589 ผลิตภัณฑ์) (พช. สถ. ปค. ศธ. รง) เครื่องดื่ม (801 ผลิตภัณฑ์) (พช. สถ. ปค. ศธ วว. วท.) ผ้าและเครื่องแต่งกาย(4,905 ผลิตภัณฑ์) (พช. สถ. ปค. อก. ศธ. รง)  พัฒนาทักษะผู้ผลิตผู้ประกอบการในการผลิตสินค้าและทางเลือกการประกอบอาชีพ (รง., สถ.,,ศธ.(มทร.ธ.), )  ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการ ผลิต การตลาด การรับช่วงการผลิต เพื่อเพิ่มมูลค่า (พช. พณ) เพิ่มโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ/สนับสนุนปัจจัยการผลิต (พช.,กค.,สถาบันการเงิน) ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ให้เข้าสู่กระบวนการ รับรองมาตรฐาน (อก.) ส่งเสริมการเข้าร่วมงานแสดง จำหน่ายสินค้าในระดับท้องถิ่น/ภาค (พณ. พช. สถ. ปค. ภาคเอกชน) • สร้างระบบพี่เลี้ยงที่มีความ • เชี่ยวชาญเพื่อให้คำแนะนำด้าน • การแพทย์ และสมุนไพรไทย • (สธ, วว, วท สถาบันเฉพาะทาง) • พัฒนาทักษะผู้ผลิตผู้ประกอบการในการผลิตสินค้าและบรรจุภัณฑ์ (รง., ,ศธ.(มทร.ธ.),วว.,วท.) • ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ • ผลิตภัณฑ์เข้าสู่กระบวนการ • รับรองมาตรฐาน (อก.) • เพิ่มโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุน (พช .กค.,สถาบันการเงิน) พัฒนากระบวนการผลิตให้มี คุณภาพและมีประสิทธิภาพ (อก. วว. วท) สร้างระบบพี่เลี้ยงในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์การรวมกลุ่มเครือข่าย (พช. สถ. ปค.) พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์เข้าสู่ กระบวนการรับรองมาตรฐาน(อก.) เพิ่มโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุน สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ (พช,กค.,สถาบันการเงิน) พัฒนาทักษะผู้ผลิตผู้ประกอบ การในการผลิตสินค้าและทางเลือกการประกอบอาชีพ (รง., ,ศธ.(มทร.ธ.), .,วว.,วท.) • สร้างระบบพี่เลี้ยงให้ความรู้ด้าน • ผ้าและพัฒนาช่องทางการเรียนรู้ที่ • เข้าถึงได้ง่าย (ทก. • ,ศธ.(มทร.ธ.), สถาบันที่เกี่ยวข้อง) • เพิ่มโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ และสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ (พช. สถ. ปค. กค.,สถาบันการเงิน) • พัฒนาทักษะผู้ผลิต • ผู้ประกอบการในการผลิตสินค้าและ • ทางเลือกการประกอบอาชีพ (รง. • ศธ. สถ. สถาบันที่เกี่ยวข้อง) • ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ • ผลิตภัณฑ์ให้เข้าสู่กระบวนการ • รับรองมาตรฐาน (อก.) • ส่งเสริมการเข้าร่วมงานแสดง • จำหน่ายสินค้าในระดับท้องถิ่น/ภาค • (พณ. พช. สถ. ปค. ภาคเอกชน) ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย การผลิต การตลาด การแลก เปลี่ยนสินค้าเพื่อเพิ่มมูลค่า (พช. สถ. ปค. พณ) สร้างระบบพี่เลี้ยงให้ความรู้ ด้านอาหาร และพัฒนาช่องทาง การเรียนรู้ที่เข้าถึงได้ง่าย (ทก. ,ศธ.(มทร.ธ.), กษ สถาบันที่ เกี่ยวข้อง) ถ่ายทอดความรู้ด้านกระบวน การผลิตอาหารให้มีคุณภาพ ลด ต้นทุน (อก,สถาบันอาหาร) พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์เข้า สู่กระบวนการรับรองมาตรฐาน (อก.อย.) • ก.พาณิชย์ • ก.สาธารณสุข/หน่วยวิจัย/ วช • ก.อุตสาหกรรม/สถาบันสิ่งทอ • สถาบันอาหาร/ก.อุตสาหกรรม/ ก.เกษตร/สถาบันการศึกษา • ก.วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 12

  23. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาระบบสนับสนุนโอทอป เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ผลิตภัณฑ์โอทอปมียอดจำหน่ายสูงขึ้น ผลิตภัณฑ์โอทอป มียอดจำหน่าย สูงขึ้น เสริมสร้างความเข้มแข็งผู้ผลิตผู้ประกอบการ และเครือข่าย OTOP สำนักนายกรัฐมนตรี , ICT ก.คลัง สสว. ก.พาณิชย์ ขยายช่องทางการตลาด เพิ่มโอกาส เข้าถึงแหล่งทุน พัฒนาระบบ บริหารจัดการ กลยุทธ์ • แผนงานพัฒนาศักยภาพผู้ผลิตผู้ประกอบการ • เพิ่มประสิทธิภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP (พช.) • สร้างผู้นำนักธุรกิจ OTOP รุ่นใหม่ (สสว) • ส่งเสริมกระบวนการเครือข่าย องค์ความรู้(KBO) (พช. สถาบันการศึกษา) • การพัฒนาเครือข่าย OTOP (พช.) • พัฒนาระบบพี่เลี้ยง ที่ปรึกษาในการพัฒนา OTOP แต่ละประเภท(พช กษ อก ศธ รง สถ ปค) • พัฒนาผู้ผลิตฯ OTOP สู่ SMEs (สสว) • เสริมสร้างแนวคิดการดำเนินธุรกิจ อย่างเป็นระบบ(สสว) • การลงทะเบียนผู้ผลิตผู้ประกอบ (พช.) • การคัดสรร สุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (พช.) • แผนงานสิบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น • พัฒนาเยาวชนเพื่อการสืบสานอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (วธ พช) • แผนงานพัฒนากลไกการขับเคลื่อน • จัดตั้ง OTOP Support Center (นร.) • จัดทำร่างพระราชบัญญัติ OTOPแห่งชาติเพื่อจัดตั้งองค์กรและเพื่อการจดทะเบียนรวมถึงการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (นร. ทป.) • พัฒนากลไกการบริหารแบบ บูรณาการระดับจังหวัด ภาค และประเทศ (นร.) • แผนงานพัฒนาระบบเทคโนโลยี • พัฒนาฐานข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ การพัฒนา OTOP (พช ทก) • แผนงานประชาสัมพันธ์ • การประชาสัมพันธ์เชิงรุก (นร.) • จัดทำ Catalog และ CD-ROM ผลิตภัณฑ์ OTOP เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ไปยังผู้ซื้อทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ (พณ. ทก) • แผนงานสงเสริมตลาดต่างประเทศ • ส่งเสริมการค้าให้ผู้ประกอบการ OTOP เพื่อเปิดตลาดต่างประเทศ (พณ.กต) • แผนงานส่งเสริมตลาดในประเทศ/ตลาดท้องถิ่น • จัดตั้งศูนย์แสดง จำหน่ายและกระจายสินค้าถาวร ร่วมมือขยายตลาดกับห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (พณ.) • เชื่อมโยงระบบ Logistic การขนส่ง (คค ไปรษณีย์) • การใช้ออนไลน์และโซเชียลเน็ตเวิร์กเพื่อสร้างโอกาสทางการตลาด Ecommerce (พณ. ทก) • การจัดงานแสดงและจำหน่ายสินค้า OTOP เช่น OTOP City OTOP Midyear • แผนงานเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว • หมู่บ้านOTOPเพื่อการท่องเที่ยว (OVC) (พช. กท.) • แผนการบริหารจัดการเงินทุน • จัดหาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ (กค.) • จัดตั้งกองทุน OTOP (นร. ) • เชื่อมโยงการพัฒนา OTOP (OTOP Sync) กับกองทุนต่างๆ และสถาบันการเงิน(กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง,กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี,กองทุนตั้งตัวได้, SME Bank) (นร. กค. พช. สถ. ปค. สถาบันการเงิน) แผนงาน/โครงการ

More Related