320 likes | 858 Views
การศึกษาผลกระทบการเปิดการค้าเสรี อาเซียน ( AFTA ). สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 15 มกราคม 2553. ความเป็นมา. ปี 2535 จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ( AFTA ). วัตถุประสงค์ ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกอาเซียน สร้างความสามารถในการแข่งขัน ดึงดูดการขยายการลงทุนจากต่างประเทศ
E N D
การศึกษาผลกระทบการเปิดการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 15 มกราคม 2553
ความเป็นมา ปี 2535 จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) วัตถุประสงค์ • ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกอาเซียน • สร้างความสามารถในการแข่งขัน • ดึงดูดการขยายการลงทุนจากต่างประเทศ • สร้างอำนาจการต่อรองกับประเทศ นอกกลุ่ม • เป้าหมายหลัก • ลด/เลิก ภาษีสินค้าให้หมดไป • ยกเลิกอุปสรรคทางการค้า ที่มิใช่ภาษี(ยกเลิกโควตาสินค้าเกษตร 23 รายการ)
จำนวนรายการสินค้าที่เจรจาลดภาษีกัน (พิกัด 8 หลัก) รวมทั้งหมด 8,300 รายการ เกษตร 1,273 รายการ
กรอบเวลาการลดภาษีของอาฟต้ากรอบเวลาการลดภาษีของอาฟต้า อาเซียนเดิม 6 ประเทศ:ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน สิงคโปร์ 2546 สินค้า ร้อยละ 60 ภาษีลดเหลือ 0% 2550 สินค้า ร้อยละ 80 ภาษีลดเหลือ 0% 2553 สินค้า ร้อยละ 100 ภาษีลดเหลือ 0% อาเซียนใหม่ 4 ประเทศ: กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม 2558 สินค้าร้อยละ 100 ภาษีลดเหลือ 0%
เงื่อนไขการได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษี(ลดภาษี)เงื่อนไขการได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษี(ลดภาษี) เป็นสินค้าที่มีการผลิตในอาเซียนประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือ มากกว่า 1 ประเทศรวมกันแล้ว คิดเป็นมูลค่าอย่างน้อย 40% ของมูลค่าสินค้า เป็นสินค้าที่อยู่ในบัญชีลดภาษีของทั้งประเทศผู้ส่งออกและนำเข้า (ผู้ส่งออกไทยจะต้องขอใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าที่กรมการค้าต่างประเทศ)
สถานการณ์การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับอาเซียน 9 ประเทศ ก่อนเปิดเสรีการค้าสินค้า
สถิติการค้าสินค้าเกษตร : ไทย-อาเซียน 9 ประเทศ ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรคือสินค้าพิกัดตอนที่ 1-24 (สินค้าส่งออกสำคัญของไทย คือ ข้าว น้ำตาล)
ส่งออก: สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปอาเซียน 9 ประเทศ (เฉลี่ย 3 ปี 2549-2551) พิกัด 10: ข้าว/ธัญพืช=26,305ล้านบาท (ตลาด: ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซียบรูไน) พิกัด 17: น้ำตาล/ ขนมจากน้ำตาล = 20,963ล้านบาท (ตลาด: ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา) พิกัด 21: ซอส เครื่องแกง น้ำปลา = 10,742ล้านบาท (ตลาด: ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา) พิกัด 22: เครื่องดื่มสุรา = 8,145ล้านบาท (ตลาด: สิงคโปร์ พม่า ลาว พม่า ) พิกัด 19: ผลิตภัณฑ์จากแป้ง = 8,060ล้านบาท (ตลาด: มาเลเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา พม่า)
มูลค่าการส่งออกและนำเข้าข้าวของไทย- อาเซียน 9 ประเทศ
นำเข้า:สินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าจากอาเซียน 9 ประเทศ ที่มา : กรมศุลกากร
พันธกรณีของไทยภายใต้ AFTA • ต้องลดภาษีทุกรายการสินค้า • เหลือ 0 % ในปี 2553 • (ยกเว้น เมล็ดกาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก • เนื้อมะพร้าวแห้ง ภาษีเหลือ 5%) • ต้องยกเลิกโควตาสินค้าเกษตร • 23 รายการหมดไปในปี 2553
การดำเนินการสำหรับสินค้าเกษตรที่มีโควตา 23 รายการ • ก.คลัง ได้ออกประกาศลดภาษี เหลือ 0-5% ในปี 2553 แล้วทั้ง 23 รายการ • ก. พาณิชย์ เป็นผู้รับผิดชอบออกประกาศการยกเลิกมาตรการโควตา ซึ่งขณะนี้ยกเลิกแล้ว 13 รายการ เหลืออีก 10 รายการ กำลังเตรียมออกประกาศยกเลิกโควตา (อยู่ในระหว่างนำเสนอ ครม.)
ยกเลิกโควตาแล้ว 13 รายการ: 1) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2) กากถั่วเหลือง 3)น้ำมันถั่วเหลือง 4)น้ำมันปาล์ม 5)หอมหัวใหญ่ 6) เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ 7)กระเทียม 8) มันฝรั่ง 9)ไหมดิบ 10) ลำไยแห้ง 11)พริกไทย 12) น้ำตาล 13)ใบยาสูบ กำลังจะยกเลิกโควตา 10 รายการ: กษ. ดูแล 9 รายการ : 1) ชา 2) เมล็ดกาแฟ 3) กาแฟสำเร็จรูป 4) น้ำนมดิบ 5) นมผงขาดมันเนย 6) มะพร้าวผล 7) เนื้อมะพร้าวแห้ง 8) น้ำมันมะพร้าว 9) เมล็ดถั่วเหลือง พณ. ดูแล 1 รายการ: 10) ข้าว การดำเนินการสำหรับสินค้าเกษตรที่มีโควตา 23 รายการ (ต่อ)
โครงสร้างการกำกับดูแลสินค้าโควตาภาษี 23 รายการ ก. เกษตรฯ ดูแล 18 รายการ
โครงสร้างการกำกับดูแลสินค้าโควตาภาษี 23 รายการ (ต่อ) กระทรวงอื่น ดูแล 5 รายการ ก. พาณิชย์ ดูเล 3 รายการ 1. คณะกก.นโยบายข้าวแห่งชาติ : ข้าว 2. คณะกก.อาหารสัตว์ : ข้าวโพด และ กากถั่วเหลือง ก.คลัง : ใบยาสูบ ก.อุตสาหกรรม โดย คณะกก. อ้อยและน้ำตาล ดูแลสินค้า น้ำตาล
การจำแนกสินค้า 23 รายการตามผลกระทบ AFTA
การจำแนกสินค้า 23รายการตามผลกระทบ AFTA(ต่อ)
แนวทางรองรับการเปิดเสรีสินค้าเกษตร 23 รายการ(บทบาทภาครัฐ) • ขั้นที่ 1 : บริหารการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร • ขั้นที่ 2 : เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ (เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTA กษ.) • ขั้นที่ 3: ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ (เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้าต่างประเทศ แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวังการนำเข้า หากนำเข้าผิดปกติให้เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดูแลสินค้า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง => แจ้ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)
ตัวอย่าง แนวทางรองรับการเปิดตลาดเสรีสินค้าเกษตรที่อาจจะได้รับผลกระทบ (ด้านการบริหารการนำเข้า)
การเยียวยาเกษตรกรโดยกองทุน FTA ของกษ. • ตั้งขึ้นตาม มติครม. 20 ก.ค. 2547 • มีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพผลผลิต แปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร • ผลการดำเนินงาน -2550 อนุมัติโครงการโคเนื้อ ชา ปาล์มน้ำมัน รวม 118 ล้านบาท -2551 อนุมัติโครงการโคนม รวม 52 ล้านบาท -2552 อนุมัติโครงการกาแฟครบวงจร รวม 54 ล้านบาท • ทิศทางการขับเคลื่อนของกองทุนฯ ในอนาคต -ช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรี -ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต
กองทุน FTA กษ. : การเตรียมการสำหรับสินค้าที่ได้รับผลกระทบ • จัดลำดับความสำคัญของสินค้า - ความรุนแรงของปัญหา - ยุทธศาสตร์และนโยบายของ กษ./ รัฐบาล • จัดสัมมนาเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการของเกษตรกรในภูมิภาค • หารือผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อพิจารณาจัดทำเป็นโครงการเสนอของเงินสนับสนุน • การจัดทำคำขอเงินสนับสนุนจะเป็นลักษณะที่ทบทวน ปรับปรุงใหม่ได้ทุกปีเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
สรุป ภาคเกษตรได้หรือเสีย
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตร (ภาพรวม) ผลดี • ไทยส่งออกสินค้าได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลงทำให้สินค้าไทยมีราคาถูกลงในสายตาผู้บริโภคอาเซียนซึ่งมีประชากรเกือบ 500 ล้านคน • สินค้าวัตถุดิบนำเข้าจะมีราคาถูก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งออก • เกษตรกร เกิดการปรับตัวทางการผลิต เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ ผลเสีย - เกษตรกรบางสาขาอาจได้รับผลกระทบด้านราคาสินค้าตกต่ำ เมื่อมีการนำเข้าสินค้าราคาถูกจากอาเซียน 9 ประเทศ
ผลจากอาเซียนลดภาษีเป็น 0% ต่อ GDP ไทย ปี 2558(มุมมองของสถาบันการศึกษา) ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย (14 ก.ค.52) ทำการศึกษาสินค้า 12 กลุ่ม (เกษตร อุตสาหกรรม) พบว่า ผลจากอาเซียนลดภาษีเป็น 0% ทำให้ GDP ไทยปี 2558 เพิ่มขึ้น 1.75 % คิดเป็นมูลค่า 203,951 ล้านบาท หรือ 0.25 % ต่อปี (จากปี 2551) ไทยจะเกินดุล สาขาเกษตรแปรรูป มากขึ้น 12.5% และจะเกินดุล สาขาเกษตรและปศุสัตว์ มากขึ้น 16.5% ไทยมีทิศทางส่งออกสินค้าประมงเพิ่มขึ้น
ผลการสัมมนา 4 ภาค ของ สศก. เกษตรกรรับทราบผลการเจรจา AFTA และเข้าใจว่าจะต้องปรับตัวให้อยู่ กับโลกการค้าเสรีให้ได้ ข้อเสนอของเกษตรกรต่อภาครัฐในการรองรับการเปิดเสรี/เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ให้ประกันรายได้ต่อไป • สนับสนุนปัจจัยการผลิต อาทิ จัดหาแหล่งน้ำ ชลประทานให้เพียงพอ ปุ๋ยราคาถูก เมล็ดพันธุ์ดี • สนับสนุนการลดต้นทุนการผลิต • สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุน • ลงทุนด้านโลจิสติกส์ในเขตชายแดนเพื่อความสะดวกในการส่งออก
ไทยควรเตรียมพร้อมกับการเปิดตลาดเสรีอย่างไรไทยควรเตรียมพร้อมกับการเปิดตลาดเสรีอย่างไร เกษตรกร • เน้นคุณภาพสินค้าเกษตร • เน้นสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการส่งออก เช่น ข้าว น้ำตาลและผลิตภัณฑ์ • ปรับภาพลักษณ์บรรจุภัณฑ์ • ใช้เทคโนโลยีในการยืดอายุสินค้าเกษตรหลังเก็บเกี่ยว เอกชน/ผู้ประกอบการ ควรปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อการแข่งขัน โดย • ผลิตสินค้าที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ และ หลากหลาย • พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสู่สากล ตรงกับความต้องการของตลาด • ลดต้นทุนการผลิต เช่น ใช้พันธุ์ดี รวมกลุ่มเพื่อใช้ปัจจัยการผลิตร่วมกัน อาทิ เครื่องสูบน้ำ • ลานตาก