250 likes | 566 Views
ทิศทางการผลิตและการใช้วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอีของประเทศไทยในอนาคต. การประชุมวัคซีนประจำปีครั้งที่ 4 The 4 th Vaccine Conference 11-13 กรกฎาคม 2555 ภก.สิทธิ์ ถิระภาคภูมิอนันต์ องค์การเภสัชกรรม. ทำไมจึงต้อง...วัคซีนเจอี.
E N D
ทิศทางการผลิตและการใช้วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอีของประเทศไทยในอนาคตทิศทางการผลิตและการใช้วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอีของประเทศไทยในอนาคต การประชุมวัคซีนประจำปีครั้งที่ 4 The 4th Vaccine Conference 11-13 กรกฎาคม 2555 ภก.สิทธิ์ ถิระภาคภูมิอนันต์ องค์การเภสัชกรรม
ทำไมจึงต้อง...วัคซีนเจอีทำไมจึงต้อง...วัคซีนเจอี 1.โรคไข้สมองอักเสบเจอีเป็นโรคประจำถิ่นในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งมีพลเมืองราวครึ่งหนึ่งของโลกประมาณ 3,000 ล้านคน(~ครึ่งหนึ่งของพลเมืองโลก) 2. ความรุนแรงของโรคโอกาสเสียชีวิตสูง(10-30%) ความพิการทางสมองและที่เกี่ยวกับสมองเมื่อหายจากโรคสูง(50%) 3. ทั่วโลกรายงานเฉลี่ยอุบัติการณ์โรคปีละ 30,000-50,000 ราย/ปี จำนวนตายประมาณ 6,000 ราย/ปี 4. ประเทศไทยมีรายงานในปี พ.ศ. 2552( ค.ศ. 2009 ) จากตัวอย่างที่ได้รับมีรายงานว่าเป็นไข้สมองอักเสบเจอี 106 รายเท่ากับ0.17/100,000 ไม่มีรายงานการตายจากการติดเชื้อเจอี
สถานการณ์โรคไข้สมองอักเสบเจอีของไทยสถานการณ์โรคไข้สมองอักเสบเจอีของไทย (2000-2009)
ประเด็นในการอภิปราย • ๑. นโยบายและแผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติ แผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแห่งชาติและแผนการผลิตวัคซีนของประเทศ • ๒. วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ(เจอี)ในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแห่งชาติ ความต้องการใช้ประเภทชนิดและปริมาณ • ๓. วัคซีนกับการควบคุมสถานการณ์โรคไข้สมองอักเสบ • ๔.เกณฑ์มาตรฐานองค์การอนามัยโลกสำหรับวัคซีนเจอี • ๕. ประเทศไทยควรใช้วัคซีนเจอีชนิดเชื้อตายหรือเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ • ๖.ก้าวต่อไปของการใช้และการผลิตวัคซีนเจอีของประเทศไทยในอนาคต
นโยบายและแผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาตินโยบายและแผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติ ครม.เห็นชอบ (9 ส.ค. 2548) สาระสำคัญ ยุทธศาสตร์ทั่วไป ประกอบด้วย 1.1 จัดทำแผนเพื่อกำหนดความต้องการใช้วัคซีนและจัดลำดับความสำคัญของวัคซีนที่ควรส่งเสริมให้มีการวิจัย พัฒนา และผลิต ในระยะสั้นและระยะยาว 1.2 ส่งเสริมการลงทุนเพื่อการวิจัยพัฒนาและการผลิตวัคซีนในภาครัฐและภาคเอกชน 1.3 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ทุกสาขาวิชาที่จำเป็น โดยสนับสนุนงบประมาณและการลงทุน 1.4 สนับสนุนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ ในการพัฒนางานด้านวัคซีนระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนภายในประเทศและความร่วมมือระหว่างประเทศ 1.5 จัดตั้งหน่วยงานกลางเพื่อทำหน้าที่ประสานงานและส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในประเทศทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับวัคซีนอย่างครบวงจร
วาระวัคซีนแห่งชาติ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขับเคลื่อนนโยบายและแผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติ ประกาศ ณ วันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๕๔ คณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติมีอำนาจและหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวกับวัคซีน.... • ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อวิจัยพัฒนา ผลิต ประกันคุณภาพ และใช้วัคซีน • พิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนแม่บทวัคซีนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ส่งเสริม สนับสนุนนโยบายเชิงรุกเพื่อผลิตและจำหน่ายต่างประเทศ
วัคซีนในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแห่งชาติวัคซีนในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแห่งชาติ • 1. BCG m0 • 2. HB m0 • 3. DTP-HB m2, m4, m6 • 4. OPV m2, m4, m6 • 5. MMR, M m9-12 • 6. JE(inactivated JE) m18,m19,m31 • 7.dT entering school age, pregnant women • 8. DTP y18, y4.5
การผลิตวัคซีนที่ผลิตในประเทศการผลิตวัคซีนที่ผลิตในประเทศ • ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ผลิตวัคซีนในประเทศอยู่ 3 หน่วยงานและอยู่ระหว่างการพัฒนาวัคซีนอีก 1 แห่ง • 1.GPO ผลิตวัคซีน JE(MB) • 2.TRC ผลิตวัคซีน BCG • 3.GPO-MBP ผลิตวัคซีนโดย formulation and filling: HB, DTP-HB, MMR, M, Rabies, OPV และ Bionet-Asia อยู่ระหว่างการพัฒนา Acellular Pertussis เป็นต้น
Disease Prevention and Control Epidemiological data Situation of PH problems (Global/national/local) Evidence-based knowledge Policy Implementation Vaccine Introduction Surveillance Vaccine Development Reference: From DDC, Dr Attaya
วัคซีนเจอี:ความต้องการใช้ของประเทศวัคซีนเจอี:ความต้องการใช้ของประเทศ • Dose and Demand ใน EPI Program ตามแผนปัจจุบันจะให้วัคซีนเชื้อตาย 3 เข็ม ต่อเด็ก 1 คน ที่อายุ 1 ปีครึ่งครั้งแรก เข็มที่สองห่างจากเข็มแรก 1 เดือน และเข็มที่สามห่างจากเข็มสอง 1 ปี ในขนาด pediatric dose • ปัจจุบันจะมีความต้องการที่ประมาณ 3.6 pediatric doses • ตามความต้องการ(Demand)ดังกล่าวสมควรที่จะกำหนดการจัดการด้านการจัดหา(Supply)/ ผลิต(Production) วัคซีนเองโดยมีเป้าหมายการพึ่งตนเองในด้านเวชภัณฑ์ป้องกันโรคหรือไม่อย่างไร
ชนิดของเจอีวัคซีนและแหล่งผลิตชนิดของเจอีวัคซีนและแหล่งผลิต 1.แบ่งตามประเภทเชื้อตาย( Inactivacted JE) 1.1 Mouse Brain derived JE:GPO, KGC, VABIOTECH 1.2 Primary Hamster Kidney cell(PHK) 1.3 Vero Cell base derived JE: BIKEN, KK, Intercell , CD BIO 2. แบ่งตามประเภทเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์(Live Attenuated JE) 2.1 Primary cell line (SPF Hamster): CNBG(Chengdu) 2.2 Chimeric JE: YD-17 backbone (Vero): Sanofi
แนวทางเลือกของการใช้และการผลิตแนวทางเลือกของการใช้และการผลิต ปัจจัยในการเลือกวัคซีนใช้ • 1. ให้จำนวนน้อยครั้ง และได้ผลในการป้องกันโรคอย่างมีประสิทธิภาพ • 2. ประหยัดงบประมาณ • 3. มีความปลอดภัยสูง ใช้ง่าย • 4. มีข้อควรระวังน้อย ปัจจัยในการเลือกผลิต • 1. มีตลาดรองรับ • 2. มีเทคโนโลยีหรือสามารถหาหรือพัฒนาขึ้นได้ • 3. สามารถเลี้ยงตัวเองจากการดำเนินงานได้ • 4. สร้างองค์ความรู้และศักยภาพในการต่อยอดสู่วัคซีนอื่นต่อไป
ประวัติการใช้วัคซีนในประเทศไทยประวัติการใช้วัคซีนในประเทศไทย • ปี 2513 ตั้งคณะกรรมการพิจารณาการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค • ปี 2520 ขยายงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(EPI) • ปี 2528 เริ่มผลิตวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี(สายพันธุ์นากายามา) ด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศญี่ปุ่น(BIKEN) • ปี 2535 นำวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี( HB ) ใช้ใน EPI • ปี 2540 นำวัคซีนผสม MMR ใช้ใน EPI • ปี 2544 ผลิตวัคซีนเจอี(สายพันธุ์เบจิง)
Major events in development of JE vaccination in Thailand Clinical & epidemio. studies Clinical features and consequences of illness at Chinagmai and children’s Hosp. (More studies) Ratchaburi KPP Chiangrai (whole province) Chiangmai (Sarapee) Vaccine Trials Chiangmai (Fang, Mae-ai) Number of provinces EPI-based 8 17 21 28 34 34 34 34 34 34 76 Model JE Vaccination Catch-up 10 16 23 28 JE vaccination Programs GPO scaling up production of Nakayama strain vaccine Techno transfer from DMsc to GPO for pilot scale production, R&D supported by Nat Research Council Local vaccine development & production R &D for production of Beijing strain with Biken support Techno transfer from Osaka Univ. to DMSc for lab scale production 1997 2000 1970 1980 1990 Source: Division of GCD, CDC, MOPH
JEV: Guidelines • 1.Expert Committee on Biological Standardization:8-12 Oct 2007 “ Recommendation for Inactivated JE for human use”. WHO/BS/07.2064 • 2. Requirement for Japanese Encephalitis Vaccine (Inactivated) for human use. WHO TRS 771,1988 • 3.Guideline for the Production and Control of Japanese Encephalitis Vaccine(Live) for human use. WHO TRS 910, 2002
ประเทศไทยควรใช้วัคซีนเจอีชนิดเชื้อตายหรือเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์จากเซลล์เพาะเลี้ยงประเทศไทยควรใช้วัคซีนเจอีชนิดเชื้อตายหรือเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์จากเซลล์เพาะเลี้ยง • 1.Safety :ความปลอดภัยที่จะใช้ใน EPI programควรเป็นวัคซีนเชื้อตายมากกว่าวัคซีนเชื้อเป็นเนื่องจากเป็นการใช้ครอบคลุมอย่างกว้างทั่วประเทศ การใช้ในกลุ่มที่มีภูมิต่ำกว่าปรกติอาจมีปัญหา • 2.Efficacy : วัคซีนที่ใช้สามารถกระตุ้นภูมิได้ในระดับที่ป้องกันโรคได้เมื่อได้ครบ 3 เข็มสำหรับวัคซีนเชื้อตาย และ 2 เข็มสำหรับวัคซีนเชื้อเป็น • 3. Quality : ตามข้อกำหนดด้านเทคนิคการควบคุมคุณภาพวัคซีนเชื้อเป็นจะมีความซับซ้อนในการควบคุมคุณภาพหลายระดับเช่น Master seed, Working seed, Cell bank, Adventitious Agents และ Process control
Road Map of Cell Base JEV Development • พ.ศ.2552: ร่วมกับ NVI(สำนักงานคณะกรรมวัคซีนแห่งชาติ ขณะนั้น)จัดทำแผนที่ทางเดิน(Road Map) ในการพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอีจากเซลล์เพาะเลี้ยง • Lab and Pilot scale ใช้เวลาประมาณ 2 ปี และเตรียมการสร้างโรงงานผลิต(Industrial scale) อีกประมาณ 3 ปี ด้วยงบประมาณ 510 ล้านบาท ผลิตวัคซีนเจอีจาก Vero cell, Inactivated JE • Survey หาเทคโนโลยีว่าควรเลือกวัคซีนชนิดใด สถานการณ์ทั่วโลกเป็นอย่างไรเพื่อเสนอคณะกรรมการอำนวยการพัฒนาวัคซีนเจอีจากเซลล์เพาะเลี้ยง • ข้อมูล PATH และความเห็นจากการปรึกษามีประเด็นว่าแนวโน้ม supply over demand และเป็นโครงการที่ซับซ้อนประธานมีความเห็นว่าให้ชลอไปก่อน
ก้าวต่อไปของการใช้และการผลิตวัคซีนเจอีของประเทศไทยในอนาคตก้าวต่อไปของการใช้และการผลิตวัคซีนเจอีของประเทศไทยในอนาคต ทบทวนโครงการที่เสนอเดิมเพื่อเดินหน้าต่อหรือปรับเปลี่ยน? หากเห็นพร้องจากทุกภาคส่วน: ควรมีการพิจารณาร่วมกันระหว่างหน่วยงานผู้ใช้ ผู้ผลิตและเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนหาความต้องการและแผนดำเนินการที่เป็นไปได้อย่างชัดเจน 1.เพื่อกำหนดเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบหลักและผู้รับผิดชอบร่วมจัดทำโครงการใหม่ 2.หาที่ปรึกษาโครงการ 3.กำหนดแผนงานโครงการและงบประมาณโครงการ ระยะเวลาดำเนินการ 4.การลงทุนในโครงการพัฒนาวัคซีนจากหน่วยงานที่เหมาะสมโดยมีเงื่อนไขให้การสนับสนุนวัคซีนที่ผลิตขึ้นตามที่จะตกลงกัน 5. พัฒนาบุคลากรที่จำเป็นในการทำงานร่วมกันในเครือข่าย