230 likes | 457 Views
นโยบายการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ในส่วนภูมิภาค ปี 2555 - 2559. เครือข่าย ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร. นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 30 มกราคม 2555 ณ รพ.สรรพสิทธิประสงค์. ผลกระทบต่อหน่วยบริการ และประชาชน. หน่วยบริการ. สปสธ. สปสช. กรม. ประชาชน.
E N D
นโยบายการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ในส่วนภูมิภาค ปี 2555 - 2559 เครือข่าย ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 30 มกราคม 2555 ณ รพ.สรรพสิทธิประสงค์
ผลกระทบต่อหน่วยบริการและประชาชนผลกระทบต่อหน่วยบริการและประชาชน หน่วยบริการ สปสธ. สปสช. กรม ประชาชน
บทบาทที่พึงประสงค์และมุ่งเน้นในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบบริการสุขภาพบทบาทที่พึงประสงค์และมุ่งเน้นในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบบริการสุขภาพ ใหม่สมดุลที่แข็งแรง เชื่อมโยงมั่นคง:พวงบริการเบ็ดเสร็จไร้รอยต่อ กำหนดแผนสุขภาพพื้นที่บริหารค่าใช้จ่ายเอง สนับสนุน:กรมผลิต วิชาการสนับสนุนระบบบริการให้เข้มแข็ง กำกับปรับดุล:กสธ. กำกับทิศระบบสุขภาพผ่านนโยบาย มาตรฐานและกฎหมาย ตรงบทลดการนำ:สปสชต้องให้หน่วยบริการจัดรูปแบบบริการถอดบทบาทมาสนับสนุนงบ ตรวจสอบบริการ พิทักษ์สิทธิ์ เก่าที่เป็นปัญหา เสี่ยง:หน่วยบริการถูกแยกส่วนบริหารและแยกส่วนบริการ ผิดบท:กรมต่างๆ ขาดงบประมาณ สร้างภาระกิจกรรมของกรมให้พื้นที่ อ่อนแอ:กสธ. โครงสร้างเปลี่ยนแปลงไม่ทำบทบาทที่ควรทำ ผิดฝาผิดตัว:สปสชใช้เพียงกลไกการเงินผูกขาดอำนาจก้าวล่วงกำหนดรูปแบบบริการเอง จัดสมดุลในระบบบริการสุขภาพ กสธ. REGULATOR หน่วยงานส. COORDINATOR องค์กรต่างๆ
กรอบศึกษาภารกิจและโครงสร้างกรอบศึกษาภารกิจและโครงสร้าง ส่วนราชการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ๑ ๒ คณะกรรมการอำนวยการ ๓ 28 เม.ย. ๒๕๕๔
วัตถุประสงค์ 1 2 3 ริเริ่มการขยายสถานบริการที่จำเป็น ปรับปรุง/เสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ ให้เป็นไปตามแผน เพื่อกำหนด ทิศทางการพัฒนาและออกแบบระบบบริการ ให้มีขีดความสามารถ ที่จะรองรับความท้าทายในอนาคต เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่าย ให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว
กรอบแนวคิด 1. Seamless Health Service Networks ความจำเป็นของการจัดบริการในรูปเครือข่าย ที่เชื่อมโยงทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ 2. Self-contained Provincial Networks เป็นเครือข่ายบริการที่รองรับการส่งต่อ ตามมาตรฐานระดับจังหวัด อย่างสมบูรณ์ 3. Referral Cascade Management ส่งต่อผู้ป่วย 3 ระดับ (ต้น กลาง สูง)
Referral Level Advance รพศ. High level Standard รพท. รพท.ขนาดเล็ก M1 Mid level เครือข่ายบริการระดับจังหวัด รพช.ขนาดใหญ่ M2 First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 3 Key Strategic Areas การบริหาร จัดการเครือข่าย บริการ โครงสร้างใหม่ ตามภารกิจของ สถานบริการภายในเครือข่าย ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี 3 1 2
1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 3 Key Strategic Areas (KSAs) การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองและ ตำบลที่มีประชากรหนาแน่น KSA 1 การพัฒนา รพ.ระดับต่างๆ โดยเป็นส่วนหนึ่งของ เครือข่าย ให้เติบโตอย่างมีทิศทาง ภารกิจชัดเจน จังหวะก้าว เกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน KSA 2 KSA 3 การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 3 ระดับ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 1 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง เป้าหมาย ร้อยละ 100 1.1 จัดตั้ง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองดูแลประชากรเขตเมือง ไม่เกินแห่งละ 30,000 คน เป้าหมาย รวม 25 แห่ง ในเขต 13 (บ้านเฮา,บ้านท่าศรีธรรม,ศรีสะเกษ1,ศรีสะเกษ2,กันทรลักษ์,กำแพงอุทุมพรฯ,กันทรารมย์, สิ,ไพรบึง,คง,ท่าวังหิน,ชยากูร,ปทุมวิทยากร,ปทุมวิทยาลัย,วัดใต้,วารินชำราบแห่งที่1, วารินชำราบแห่งที่2,วารินชำราบแห่งที่3,โคกเถื่อนช้าง,เดช,บ้านแขม,พิบูลมังสาหาร, ตระการพืชผล,เขื่อนใน) 1.2 ภารกิจดูแลสุขภาพ Holistic, Integrative, Comprehensive (ไม่ใช่ Extended OPD) 1.3 รูปแบบหลากหลาย ท้องถิ่น/เอกชนมีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก. หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) เป้าหมาย ร้อยละ 100 จังหวัดอุบลฯ จำนวน 24 แห่ง ใน 8 อำเภอ (หนองแก,ด้ามพร้า,หัวดูน,ขามใหญ่, หัวเรือ,ปทุม,คงแสนสุข,ม่วงเฒ่า,นาตาล,กุดชมพู,หนองโพธิ์,ระเว,ไร่ใต้,คันไร่,หนองเม็ก, แก่งศรีโคตร,ภูเมือง,โพธิ์ใหญ่,ก่อ,วังกางฮุง,นาส่วง,นาโพธิ์,บุเปี่อย,น้ำขุ่น) จังหวัดอำนาจฯ จำนวน 1 แห่ง ใน 1 อำเภอ (ไก่คำ) จำนวน 23 แห่ง ใน 11 อำเภอ จังหวัดศรีสะเกษ (อาวอย,เขิน,โนนงาม,ตองปิด,ยาง, หนองแวง,หนองหัวหมู,จาน,ผักแพว,ปลาขาว,เหล่าแสน,ตาแท่น,สั่งเม็ก,โดนเอาร์,จานใหญ่, โนนสมประสงค์,พิงพวย,ตูม,โพธิกระสังข์,พราน,หลักหิน,พยุห์,กระแซง) จังหวัดยโสธร จำนวน 5 แห่ง ใน 2 อำเภอ(ห้องข่า,ดุ่ทุ่ง,บ้านนากอก,บ้านสามแยก, บ้านกุดแห่) จำนวนรวม 53 แห่ง ใน 22 อำเภอ
1 ปรับบทบาท ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก. หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) และศสม. เป้าหมาย ร้อยละ 100 ประเด็น การพัฒนา จากระบบบริการที่มีขีดความสามารถในการรับมือ กับโรคและปัญหาสุขภาพแบบเฉียบพลันสู่แบบเรื้อรัง • การมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองของประชาชน • การกำหนดนโยบายและใช้ทรัพยากรของชุมชนโดยชุมชน • บริการแบบองค์ร่วมเชิงรุกทั้งในระดับบุคคล,ครอบครัวและชุมชน • ใช้ศาสตร์เวชปฏิบัติครอบครัวในการขับเคลื่อน โดยเน้น.. จาก Providersสู่ Facilities
2 ประเด็นเข็มมุ่ง ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก. หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) และศสม. เป้าหมาย ร้อยละ 100 ประเด็น การพัฒนา เพิ่มศักยภาพของบุคลากรให้มีทักษะในการจัดการและดูแลในระดับครอบครัวและชุมชน (สนับสนุนโดยแพทย์เวชศาสตร์และนักสุขภาพครอบครัว) เพิ่มขีดความสามารถของหน่วยบริการในการจัดการกับโรคเรื้อรังของประชาชนในชุมชนทั้งการค้นหา คัดกรอง และดูแลรักษาเบื้องต้น (Early Detection & Early Intervention) การติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องที่บ้านและชุมชน (Aftercare & Continuity care) การจัดหาครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่มีมาตรฐานตามความจำเป็น (ปี2555 ศสม. ประมาณ 800,000 บาทต่อแห่ง รพ.สต. ขนาดใหญ่ ประมาณ 100,000-300,000 บาทต่อแห่ง)
2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี ปรับโครงสร้างใหม่ ตามภารกิจของ สถานบริการภายในเครือข่าย เป้าหมาย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองและรพ.สต. ที่รับผิดชอบประชาการหนาแน่น KSA 1 100 % ยกระดับ รพ. ให้สูงขึ้น KSA 2 50 % ศูนย์เชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 50 % KSA 3
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA2 การยกระดับ รพ. ร้อยละ 50 1 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น A รพ.สรรพสิทธิประสงค์ รพ.50 พรรษามหาวชิราลงกรณ รพ.ยโสธร, รพ.ศรีสะเกษ รพ.อำนาจเจริญ,รพ.มุกดาหาร 5 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น S 3 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น M1 รพ.วารินชำราบ,รพ.เดชอุดม, รพ.กันทรลักษ์ ยกระดับ รพ. เป็น M2 4 แห่ง รพ.ขันธ์,รพ.อุทุมพรพิสัย รพ.ตระการพืชผล, รพ.พิบูลมังสาหาร รพ.เลิงนกทา, รพ.ขุนหาญ,รพ.ราษีไศล 3 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น F1
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA3 การจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญ ร้อยละ 50 รพ.ศรีสะเกษ รพ.ยโสธร รพ.อำนาจฯ รพ.50 พรรษาฯ รพ.วารินฯ รพร.เดชอุดม รพ.กันทรลักษ์ รพ.สปส. รพ.สปส. รพ.สปส., รพ.สปส.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี การบริหารจัดการเครือข่ายบริการ 1 ทางเลือกการบริหารจัดการเครือข่าย 2 รูปแบบ • “พวงบริการขนาดใหญ่” ระดับ A ถึง P ครอบคลุมประชากร 5 ล้านคน (4-8 จว.) รวมทั้งประเทศ 12 พวง ข. “พวงบริการจังหวัด” ระดับ S ถึง P 2 การจัดหาแหล่งทุนเพื่อการพัฒนาเครือข่าย 3 การบริหารการเงินการคลัง UC
เรือธง ในหมู่เรือ/กองเรือ
ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร เครือข่าย(กอง) M2 รพ.พิบูลมังสาหาร F1 P2 F3 P1 P2 F2 M1 รพ.วารินชำราบ M2 รพ.ตระการพืชผล P1 F3 M1 รพ.เดชอุดม P2 F2 S รพ.50 พรรษามหาวชิราลงกรณ F1 P1 S รพ.ยโสธร F3 F2 เขต13 F1 S รพ.อำนาจเจริญ Aรพ.สปส F1 M2 รพ.กันทรลักษณ์ P1 F2 M2 รพ.อุทุมพรพิสัย S รพ.ศรีสะเกษ P2 F3 M2 รพ.ขุขันธ์ F1 F2 F3 P1 P2 S รพ.มุกดาหาร
20 เม.ย. อนุมัติแผน ก.พ. – เม.ย. จัดทำแผนเสนอ กก.บห. ทุกเดือน ก.พ. ตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป มอบหมายคณะทำงานเครือข่าย ศรีโสธรเจริญราชธานี และมุกดาหาร
สิ่งที่จะดำเนินการต่อไปสิ่งที่จะดำเนินการต่อไป จังหวัด/หน่วยบริการ (CUP) implementให้เป็นไปตามแผน แผนปฎิบัติการ 5 ปี ประกอบด้วย 1 แผนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ( 3 KSA ) • แผนพัฒนาบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิและ PP • แผนพัฒนาบริการสาธารณสุขระดับกลาง (MID level) • แผนพัฒนาเครือข่าย เชี่ยวชาญ 4 สาขา • 2 แผนงบลงทุนด้านที่ดิน สิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ 3 แผนพัฒนากำลังคน (HRM, HRD) 4 แผนระบบส่งต่อ 5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ ( พบส. ) Thoranin Kongsuk M.D. M.Sc.
ประเด็นดำเนินการของ สสจ.ในการบริหารแผน • จัดโครงสร้างที่สำคัญของสำนักงานสาธาณสุขจังหวัด ในการบริหารแผน 5 แผนประกอบด้วย • ผชชว. รับผิดชอบเรื่อง Service Plan ระดับจังหวัด • ฝ่ายแผนงานและประเมินผล สสจ. • ผู้รับผิดชอบงานระบบบริการสาธารณสุข