120 likes | 202 Views
ผลการดำเนินงาน. โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมันสำปะหลัง ปี2550/51. โดย : อรุณี เจริญศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50. แจ้งให้ทำ 20 พย. 50. กรมการค้าภายใน. กรมส่งเสริมการเกษตร. ขอเบิกเงิน 8มค.51. กรมบัญชีกลาง. โอนเงินให้ 17 มค.51. ส่งคำรับรองผู้เบิกเงิน. 18 มีค. 51. ส่วนกลาง เปิดบัญชี
E N D
ผลการดำเนินงาน โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมันสำปะหลัง ปี2550/51 โดย : อรุณี เจริญศักดิ์ศิริ
มติ คชก. 14 พย. 50 แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 กรมการค้าภายใน กรมส่งเสริมการเกษตร ขอเบิกเงิน 8มค.51 กรมบัญชีกลาง โอนเงินให้ 17 มค.51 ส่งคำรับรองผู้เบิกเงิน 18 มีค. 51
ส่วนกลาง • เปิดบัญชี • ทำคู่มือ/แบบฟอร์ม • โอนเงิน • โปรแกรม • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ • สรุป • ส่งข้อมูลกลับ • รายงานผล 28 พย.50 แจ้งโครงการ • จังหวัด • เปิดบัญชี • พิมพ์แบบฟอร์ม • จัดเก็บข้อมูล • บันทึกข้อมูล • ส่งข้อมูล • ปิดบัญชี • แจ้งการใช้เงิน • ข้อมูลสมบูรณ์ ส่งคู่มือ/แบบฟอร์ม 9 มค.51 (33 จังหวัด) 20 กพ.51 (9 จังหวัด) โอนเงิน 27 กพ.51 (3 จังหวัด) 7 กพ.51 แจ้งโปรแกรม 14 กพ.51 ให้รายงาน 2 เมย. 51 แจ้งขยายเวลา 4 กค.51 แจ้งให้รายงานและปิดบัญชี • ใช้อ้างอิง -ดำเนินการจดต่อ
ส่วนกลาง มิย. มิย. กค. กค. ตค. ตค. พย.50 พย.50 มค. มค. กพ. กพ. มีค. มีค. เมย เมย สค. สค. พค. พค. กย. กย. ภูมิภาค แจ้งโครงการ/ให้เปิดบัญชี/ส่งคู่มือ แจ้งโปรแกรมบันทึกข้อมูล ชี้แจงร่วมกับงานจดทะเบียนกก. แจ้งให้รายงานและปิดบัญชี แจ้งให้รายงาน ปี 51 ระยะเวลารับจำนำ ได้รับเงินโอน พิมพ์แบบฟอร์ม เก็บข้อมูล บันทึกข้อมูลลงโปรแกรม,ส่งข้อมูลตามระบบ ปิดบัญชี
สรุปรวมข้อมูลโครงการแทรกแซงฯ ปี2550/51 ข้อมูลจากหนังสือแจ้งกสก แบบฟอร์มprintout ศสท ยังไม่ได้รับแจ้งจากจังหวัด
1.ปัญหาการบริหารงบประมาณ1.ปัญหาการบริหารงบประมาณ จากจังหวัด งบประมาณที่จัดสรรไม่เพียงพอ ไม่สอดคล้องกับจำนวนเกษตรกร ส่วนกลางควรเปิดกว้างในการบริหารงบประมาณ งบประมาณที่เหลือจ่าย ควรเปิดกว้างให้จังหวัดนำเงินไปดำเนินการในเรื่องเกี่ยวกับมันสำปะหลังได้ กรมฯโอนเงินล่าช้า ทำให้ดำเนินการไม่ทันตามแผน จำนวนเป้าหมายเกษตรกรไม่ถูกต้อง ควรสอบถามข้อมูลที่แท้จริงจากจังหวัด การใช้เงินไม่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ จะมีการตรวจสอบหรือ? ไม่ใครรับผิดชอบ หากไม่มีเงินโอนไปยังจังหวัด ก็ไม่ควรแจ้งให้จังหวัดดำเนินการ ไม่มีงบประมาณในการประชาสัมพันธ์
2.ปัญหา การสร้างความเข้าใจในการดำเนินงาน จากจังหวัด ไม่มีการประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจให้กับเจ้าหน้าที่ภูมิภาค การจดทะเบียนผู้ปลูกมันสำปะหลังมีเกษตรกรมาจดทะเบียนน้อย จังหวัดไม่ทราบว่าการจดทะเบียนมีประโยชน์ ทำไมต้องส่งข้อมูลให้ส่วนกลาง
3. ปัญหาการบันทึก ส่งข้อมูล โปรแกรม และแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล จากจังหวัด แบบฟอร์มไม่ชัดเจน อ่านแล้วสับสน ส่วนกลางควรพิมพ์แบบฟอร์มเอง และส่งจังหวัดให้เพียงพอ แบบจัดเก็บข้อมูลไม่เพียงพอ ไม่สอดคล้องกับจำนวนเกษตรกรในตำบล ส่วนกลางไม่ชี้แจงโปรแกรม เกิดความคลาดเคลื่อน การบันทึกข้อมูลจึงผิดพลาด ควรเขียนระบบโปรแกรมให้จัดเก็บข้อมูลเกษตรกรทุกราย ความกว้างของช่องในรายงานมีความกว้างไม่เพียงพอ ควรเรียกเจ้าหน้าที่ยุทธศาสตร์และสารสนเทศ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลมารับการชี้แจงการบันทึกข้อมูล ทำไม่เสร็จเพราะเจ้าหน้าที่มีงานบันทึกข้อมูลเกษตรกรตามนโยบายกรม เช่นทะเบียนเกษตรกร
4. ปัญหาการประสานงานระหว่างส่วนกลางกับจังหวัด ประสานงานน้อยมาก การประสานระหว่างจังหวัดกับอำเภอไม่มีปัญหา มีปัญหาเกี่ยวกับการส่งข้อมูล ส่งแล้วไม่ได้รับ ผู้รับผิดชอบ โดยตรงติดต่อไม่ค่อยได้
5. ปัญหาการสอบถามข้อมูลจากเกษตรกร เกษตรกรบางส่วนมีภูมิลำเนาอยู่นอกพื้นที่ปลูกมันจึงไม่พบตัว เกษตรกรแจ้งการดำเนินการหลังจากที่เกษตรกรจำหน่ายผลผลิตไปแล้วเกษตรกรไม่สนใจจดทะเบียน เพราะราคามันสูงกว่าราคารับจำนำการประเมินคุณภาพแป้งไม่ได้วัดจากคุณภาพที่แท้จริง ลานมันไม่ให้ความร่วมมือในการให้เจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบการจัดคิวซื้อไม่โปร่งใสยุติธรรม