130 likes | 425 Views
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย. นายประยูร พรหมพันธุ์ ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น. สารบัญ. วัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น.
E N D
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยโดย นายประยูร พรหมพันธุ์ ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
สารบัญ • วัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น • รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย • ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ • รัฐธรรมนูญ มาตรา 1 หมวดที่ 1 “ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้” • รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 “ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” • ประเทศไทยเป็น “รัฐเดี่ยว” (UNITARY STATE)
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ (ต่อ) • การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งได้ 3 ระดับ (พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 4) - ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง - ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค - ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
อำนาจอธิปไตย SOVEREIGNTY อำนาจนิติบัญญัติ Legislative อำนาจบริหาร Executive อำนาจตุลาการ Jurisdiction - ใช้อำนาจทางศาลยุติธรรม • ใช้อำนาจทางสภาผู้แทน • และวุฒิสภา การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.บ. บริหารราชการแผ่นดิน 1.ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง Centralization 2.ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค Deconcentration 3.ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น Decentralize • ได้แก่กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ • ในส่วนกลาง (เมืองหลวง) • นายกรัฐมนตรี และ ครม.เป็นผู้ใช้ • อำนาจในนามรัฐบาลแห่งชาติ • แบ่งมอบอำนาจให้กับภูมิภาค ได้แก่ • จังหวัด และอำเภอ โดยมี ผวจ. • และ นอภ. เป็น หน.ข้าราชการ • ในระดับที่เกี่ยวข้อง • กระจายอำนาจให้ อปท. ต่างๆ • ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้ง • กทม. • พัทยา • อบจ. • เทศบาลต่างๆ (ตำบล เมือง นคร) • อบต. (เล็ก กลาง ใหญ่)
วัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นวัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น • แบ่งเบาภาระของราชการส่วนกลาง • หลักการแบ่งงานกันทำ (Division of Work) • ประชาชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้การปกครองตนเอง • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้ของประชาชนในท้องถิ่น • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในทางปฏิบัติ
รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย หลักการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและประชาชน • หลักการเกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้ อปท. • การส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา • การมีส่วนร่วมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม • การมีส่วนร่วมในการออกเสียงลงประชามติ
รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย (ต่อ) หลักการตรวจสอบการบริหารจัดการของ อปท. โดยประชาชนในท้องถิ่น • กำหนดให้มีกลไกการตรวจสอบการดำเนินงานของ อปท. โดยภาคประชาชน • กำหนดให้มีระบบตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานของ อปท. ในลักษณะไตรภาคี • ประชาชนมิสิทธิเข้าชื่อถอดถอนผู้บริหาร คณะผู้บริหาร และสมาชิกสภาท้องถิ่น
สาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่นสาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น • พันธกิจหลักของ อปท. ที่มีต่อประชาชน • คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารและข้าราชการท้องถิ่น • การปฏิรูประบบบริหารงานบุคคลของ อปท. • การปรับปรุงระบบการกำกับดูแล อปท. • การกำหนดกระบวนการบริหารงานของ อปท. ให้ชัดเจนรัดกุมยิ่งขึ้น • การปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับข้าราชการส่วนท้องถิ่น (พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542)
เอกสารอ้างอิง • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (รวมทั้งฉบับแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ) • พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 และและฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546 • พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546
เอกสารอ้างอิง (ต่อ) • พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์กรบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
สวัสดี สวัสดี