230 likes | 443 Views
นโยบายส่งเสริมการผลิตเกษตรสินค้าแบบมีสัญญา หรือ Contract Farming ใน สปป. ลาว สำหรับ การประชุมสัมมนาในหัวข้อ “ การพัฒนาความร่วมมือลาว-ไทย ด้านการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และโล จิ สติกส์ บนเส้นทาง EWEC ”. วันที่ 6 - 9 ธันวาคม 2550 ที่โรงแรมนานไห่ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว.
E N D
นโยบายส่งเสริมการผลิตเกษตรสินค้าแบบมีสัญญา หรือ Contract Farming ในสปป.ลาวสำหรับการประชุมสัมมนาในหัวข้อ“การพัฒนาความร่วมมือลาว-ไทย ด้านการค้า การลงทุนการท่องเที่ยว และโลจิสติกส์บนเส้นทาง EWEC” วันที่ 6 - 9 ธันวาคม 2550ที่โรงแรมนานไห่ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว
I.ความเป็นมาและสภาพการจัดตั้งปฏิบัตินโยบายContract Farmingในสปป.ลาวII.ประเมินผลและถอดถอนบทเรียนIII.นโยบายและแผนพัฒนาส่งเสริมโครงการContractFarming ในสปป.ลาว IV.การสนับสนุนของรัฐบาล
ความเป็นมาของนโยบายContrract Farming (CF) 1. แนวทางนโยบายของพรรค-รัฐ • กฎหมาย (การค้ำประกันสัญญา ธุรกิจ อุตสาหกรรมปรุงแต่ง การส่งเสริมการลงทุนและอื่นๆ ) • ปีงบประมาณ 2546-2547 สปป.ลาว เข้าร่วมยุทธศาสตร์ความร่วมมือ ACMECS • กรอบความร่วมมือACMECSประกอบด้วย 7 สาขา • กรอบการร่วมมือลาว-ไทย รวม 8 สาขาด้านเศรษฐกิจ (กสิกรรม อุตสาหกรรม การค้าและการลงทุน พลังงานไฟฟ้า ท่องเที่ยว สาธารณสุข ทรัพยากรมนุษย์/ศึกษา และการเชื่อมโยงคมนาคม) • โครงการCFลาว-ไทยเป็นนโยบายส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตร ในกรอบความร่วมมือ ACMECS ได้กำหนดเป้าหมายพืชไร่ 10ชนิด และพืชพลังงาน (อ้อย มันสำปะหลัง และปาล์ม) Z
สภาพการจัดตั้งปฏิบัตินโยบายสภาพการจัดตั้งปฏิบัตินโยบาย Contract Farming ในสปป.ลาว
ความหมายและหลักการของ CF • เกษตรกรได้รับคำมั่นสัญญาจากคู่สัญญาให้ปลูกพืชที่คู่สัญญาต้องการในพื้นที่ที่จัดหาไว้ • หลังจากการเก็บเกี่ยวแล้วจะต้องส่งมอบสินค้าให้คู่สัญญา • จะต้องมีการตกลงราคาผลผลิตที่จะส่งมอบก่อนการดำเนินการ • เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของคู่สัญญา (Contractor) จะต้องจัดหาปัจจัย การผลิตให้กับเกษตรกร
ทดลองส่งเสริมพืช 13 รายการในแขวงจำปาสัก • ส่งเสริมความร่วมมือการปลูกข้าวโพดในแขวงคำม่วน • ร่วมมือกับบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) ในการทดลองปลูกข้าวโพดฤดูแล้ง ในพื้นที่ชลประทานเพื่อป้อนสู่โรงงานอาหารสัตว์ท่าง่อนในนครหลวง เวียงจันทน์ และส่งเสริมการปลูกข้าวโพดในแขวงไชยะบุรี อุดมไชย และ แขวงอื่นๆ • ร่วมมือและส่งเสริมบริษัทลาวอินโดไชน่า ในการส่งเสริมให้ประชาชนปลูก มันสำปะหลังเพื่อป้อนโรงงานผลิตแป้งในนครหลวงเวียงจันทน์ให้บรรลุ เป้าหมาย
ส่งออก นักลงทุน/ ร่วมทุน • ปัจจัยการผลิต • ค่าผลผลิต • Commission. Technology ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน/ แขวง/หมู่บ้าน/บุคคล ผลผลิต เกษตรกร • ปัจจัยการผลิต • ค่าผลผลิต ประเมินผลและถอดถอนบทเรียน
ระดับการศึกษาของเกษตรกรยังต่ำระดับการศึกษาของเกษตรกรยังต่ำ • ยังมีระบบคนกลาง • รูปแบบของสัญญายังไม่รัดกุม • มีการค้ำประกันตลาด แต่ไม่มีการค้ำประกันราคา • สรุปผลแล้วยังไม่ได้เป็นระบบ CFที่ชัดเจน • เป็นการริเริ่มกระบวนการผลิตเป็นสินค้าพื้นฐาน • ภาครัฐบาลควรเข้ามาควบคุมเรื่องราคา เพื่อรับประกันบทบาทของ CF
สภาพปัญหายุ่งยากที่พบเห็นสภาพปัญหายุ่งยากที่พบเห็น ก. จากเกษตรกร: 1. บริษัทที่รับซื้อไม่น่าเชื่อถือและไม่รับซื้อผลผลิตทั้งหมด 2. ไม่มีการตรวจสอบบริษัทรับซื้อ 3. มีการตั้งเกณฑ์มาตรฐานของผลผลิตไว้สูงมาก 4. การฝึกอบรมยังไม่พอเพียง
ข. จากภาคบริษัทผู้รับซื้อ • ไม่สามารถเชื่อถือเกษตรกรผู้ผลิตได้ เพราะมักลักลอบขายผลผลิตในราคาสูงกว่าที่ตกลงไว้ • คุณภาพผลผลิตยังต่ำและเกษตรกรขาดความรู้ในการผลิตกสิกรรม • เกษตรกรปลูกพืชไปตามปฏิทิน(ฤดูกาล)ของตัวเอง • คุณภาพเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านยังไม่ดี • ต้นทุนในการขนส่งสินค้าข้ามแดนสูง • ผู้ประกอบการลาวไม่สามารถขนส่งสินค้าไปจีนและเวียดนาม • ต้องการยกระดับด่านชายแดนเป็นด่านสากล
แนวทางการแก้ไขเพื่อพัฒนาระบบ CFในสปป.ลาว ส่งออก นักลงทุนไทยร่วมทุนกับ นักลงทุนลาว/รัฐบาล แขวงที่เกี่ยวข้อง • สิทธิประโยชน์ • ระบบอำนวยความสะดวก • เทคโนโลยี • ปัจจัยการผลิต รัฐบาลลาว – ไทย รูปแบบคณะกรรมการร่วม เกษตรกร • เทคโนโลยี • ฝึกอบรมการเกษตร • มาตรการประกันราคา
การเริ่มต้นโครงการ CF ควรส่งเสริมให้มีการร่วมทุนระหว่างนักลงทุนลาวและไทย เพื่อให้เข้าถึงเกษตรกรและชุมชนในพื้นที่ผลิต หรืออาจเป็นภาครัฐในท้องถิ่นเข้าร่วมลงทุน จะสามารถตัดคนกลางออกจากระบบ โดยมีเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้ 1. เป็นระบบที่ประหยัดและสื่อสารรวดเร็วและถูกต้อง 2. คู่สัญญาสามารถฟังข้อคิดเห็นของเกษตรกรโดยตรง 3. คู่สัญญาและเกษตรกรได้รับผลประโยชน์สูงสุดโดยไม่มีคนกลาง (โดยคนกลางจะ เป็นผู้ร่วมลงทุน) • ภาครัฐบาลลาว-ไทย ต้องเป็นฝ่ายอำนวยความสะดวก สนับสนุน และสร้างความเชื่อมั่นในการดำเนินธุรกิจที่เอื้ออำนวยผลประโยชน์กับทังสองฝ่ายเพื่อให้สามารถช่วยตัวเองได้ พร้อมทั้งแสวงหามาตรการค้ำประกันราคารับซื้อผลผลิต (กรณีที่คู่สัญญาไม่มีการค้ำประกันราคารับซื้อ) โดยอาจใช้มาตรการด้านโควตา เพื่อรักษาระดับความต้องการ/ การตอบสนอง • ผลสำเร็จของการพัฒนาระบบ ขึ้นอยู่กับผลได้รับทั้งทางด้านราคาและปริมาณรับซื้อ
แนวทางนโยบายและแผนพัฒนา CFในสปป.ลาว • จุดประสงค์ • สร้างโอกาสให้นักลงทุนไทยและเกษตรกรลาวขยายการผลิตทางด้านกสิกรรมและการค้า • สร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรลาว • สร้างความแข็งแกร่งทางด้านเศรษฐกิจร่วมกันของทั้งสองประเทศ
2. แนวทางนโยบาย • จัดตั้งคณะกรรมการความร่วมมือลาว-ไทย เพื่อทำหน้าที่เจรจาแสวงหา ข้อตกลงและแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นร่วมกัน • สร้างแผนความร่วมมือโดยให้ความสำคัญเกี่ยวกับระเบียบการและ การอำนวยความสะดวกแก่นักลงทุน • ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนกับรัฐบาล ในด้านการผลิต การตลาด แหล่งทุนและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้ CF ประสบผลสำเร็จ
3. หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ • ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยที่ดึงดูดให้นักลงทุนไทยและเกษตรกรลาว ร่วมมือในการสร้างระบบการส่งเสริม CF ด้านแหล่งทุน ข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน และระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น • สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตกสิกรรม การบริหารจัดการให้แก่ผู้ประกอบการในธุรกิจการผลิตกสิกรรมแบบมีสัญญาและเกษตรกรลาว • เร่งรัดการเจรจาปัญหาด้านกฎระเบียบ กฎหมาย เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักลงทุนและผู้ประกอบการในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง • สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาตลาดสินค้ากสิกรรมที่มีคุณภาพ เพื่อเป็นช่องทางในการพัฒนาส่งเสริมการผลิตสินค้าแบบ CFในลาว
4.แผนพัฒนาระบบ CFลาว-ไทย (1) ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยเอื้ออำนวยต่อการลงทุน - พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารการผลิตกสิกรรมลาว-ไทย - พัฒนาระบบการนำเข้า-ส่งออกของสินค้าเกษตรให้มีความคล่องตัว - ให้สิทธิประโยชน์แก่นักลงทุน - พัฒนาเส้นทางขนส่งสินค้าเกษตรจากแหล่งการผลิตใน สปป.ลาว ไปยังชายแดน ลาว-ไทย - จัดตั้งโครงการปรับปรุงระบบชลประทานเพื่อการเกษตรลาว-ไทย
สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการบริหารจัดการสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ - จัดตั้งโครงการฝึกอบรมเกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้องในระบบ - จัดตั้งโครงการศึกษาวิจัยเทคโนโลยีการผลิตกสิกรรม โดยเฉพาะพืชที่มีโอกาสต่อความต้องการของตลาด - ดำเนินโครงการศึกษาเพื่อจัดตั้งสหกรณ์การผลิตกสิกรรม
เร่งรัดการเจรจาด้านกฎระเบียบและกฎหมายเร่งรัดการเจรจาด้านกฎระเบียบและกฎหมาย - จัดตั้งโครงการพัฒนากฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมCF -ดำเนินการเจรจากฎระเบียบที่เร่งด่วนสำหรับการดำเนินการใช้และจำเป็นต่อการลงทุนในปัจจุบัน
(4) สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ - จัดตั้งโครงการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพในประเทศไทยและต่างประเทศ - จัดตั้งโครงการรักษาระดับราคาสินค้ากสิกรรม เช่น การกำหนดเขต/พื้นที่การผลิตพืชแต่ละชนิด
การสนับสนุนของภาครัฐบาลการสนับสนุนของภาครัฐบาล - ได้แต่งตั้งคณะแนะนำรวมระดับส่วนกลาง ซึ่งมาจากกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า กระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ โดยมีกองเลขา กรมเศรษฐกิจ กระทรวงการต่างประเทศ ทำหน้าที่ประจำการและประสานงาน อาจจะจัดตั้งคณะแนะนำ CF ระดับแขวงและขระดับเมือง • ได้ให้การส่งเสริม ร่วมมือ และสนับสนุนการลงทุนในลักษณะ CF ดังที่ได้กล่าวมาข้างบน • กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า กรมส่งเสริมการผลิตและการค้า ประสานงานร่วมกับกระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ ได้ติดตาม ผลักดันส่งเสริม และประเมินผลประจำปี เพื่อส่งเสริมการตลาดและการเข้าถึงแหล่งทุนส่งเสริมธนาคาร • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของภาครัฐของทั้งสองประเทศ ลาว-ไทย ได้ค้นคว้าเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ ให้แก่กลุ่มเกษตรกร กลไก นโยบาย และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้ลงทุน CFเพื่อบรรจุเข้าใน MOU สำหรับเสนอต่อการประชุมระดับผู้นำใน ACMECS ครั้งที่ 3 ในเวียดนาม
ขอบคุณ Thank you