280 likes | 405 Views
การปฐมนิเทศกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552. วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ห้อง 2605 – 2605 / 1 อาคารบริหาร (ส่วนต่อเติม) ชั้น 6. หัวข้อการบรรยาย. 1. แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
E N D
การปฐมนิเทศกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในการปฐมนิเทศกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำปีการศึกษา 2552 วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ห้อง 2605 – 2605 / 1 อาคารบริหาร (ส่วนต่อเติม) ชั้น 6
หัวข้อการบรรยาย 1. แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 (โดยสังเขป) 2. องค์ประกอบ / ตัวบ่งชี้ ระดับสาขาวิชา หน่วยงานสนับสนุน 3. รูปแบบการรายงานผลการประเมิน
แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 (โดยสังเขป) องค์ประกอบและตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใช้องค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ของ สกอ. เป็นหลัก และเพิ่มเติมด้วยตัวบ่งชี้ของ สมศ. และ ก.พ.ร. ตามความเหมาะสม ตัวบ่งชี้ที่มหาวิทยาลัยเพิ่มเติม กำหนดรหัสตัวบ่งชี้เป็นทศนิยม ตำแหน่งที่สอง เช่น 2.12.1 เป็นต้น
องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ระดับสาขาวิชา มีจำนวน 8 องค์ประกอบ (รวม 46 ตัวบ่งชี้) ได้แก่
องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ระดับหน่วยงานสนับสนุน มีจำนวน 3 องค์ประกอบ (รวม 10 ตัวบ่งชี้) ได้แก่ หมายเหตุ บางหน่วยงานอาจจะมีตัวบ่งชี้เพิ่มเติมจากที่มหาวิทยาลัยกำหนด ในกรณีที่เป็นเจ้าภาพที่รับผิดชอบ ภาระงานหลักของมหาวิทยาลัย หรือในกรณีที่หน่วยงานมีความประสงค์จะเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ที่ สนองตอบต่อผลการดำเนินงานของหน่วยงานเอง
หมายถึง ..... ตัวบ่งชี้ที่มีเจ้าภาพหลักในการจัดทำข้อมูล ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบภาระงานหลักของมหาวิทยาลัย โดยได้กำหนดให้หน่วยรับประเมินที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้เป็นผลการดำเนินงานหน่วยงานในเบื้องต้น ซึ่งภายหลังจากการประเมินคุณภาพ ระดับมหาวิทยาลัย ทุกหน่วยงานจะได้คะแนนเท่ากับที่มหาวิทยาลัยได้รับ ดังนั้น ผลการดำเนินงานของหน่วยรับประเมินจะ เหมือนกันทุกหน่วยงานรวมทั้งสิ้น 13 ตัวบ่งชี้ ทั้งนี้ ผู้ประเมินสามารถดูผลการดำเนินงานได้จากฐานข้อมูลกลาง ซึ่งอยู่ใน WebSiteของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา http://eservice.stou.ac.th -> สารสนเทศหน่วยงาน -> ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา -> ประกันคุณภาพการศึกษา -> ปี 2552 ->ฐานข้อมูลกลางเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา
ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)
ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)
ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)
ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)
ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)
ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภาพรวมในระดับมหาวิทยาลัย และใช้ผลการประเมินของมหาวิทยาลัยเป็นผลการประเมินของสาขาวิชา (ต่อ)
ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ เป็นตัวบ่งชี้ที่แสดงผลการดำเนินงานเป็นจำนวน แสดงค่าเป็นตัวเลข หมายถึง ..... ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณทุกตัวบ่งชี้จะมีเจ้าภาพหลักในการจัดทำข้อมูล จำแนกตามผลการดำเนินงานของแต่ละหน่วยงาน มีทั้งสิ้น จำนวน 19 ตัวบ่งชี้ ดังนั้น หน่วยรับประเมินทุกหน่วยงานจะนำข้อมูลจากเจ้าภาพหลักไปใช้เป็นผลการดำเนินงานของตนเอง ทั้งนี้ ผู้ประเมินสามารถตรวจผลการดำเนินงาน โดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลกลาง ซึ่งอยู่ใน WebSiteของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา
ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ เป็นตัวบ่งชี้ที่แสดงผลการดำเนินงานเป็นจำนวน แสดงค่าเป็นตัวเลข http://eservice.stou.ac.th -> สารสนเทศหน่วยงาน -> ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา -> ประกันคุณภาพการศึกษา -> ปี 2552 -> ฐานข้อมูลกลางเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2552 (ข้อมูลจัดทำในรูปแบบ file ที่เป็น excel ซึ่งใน 1 file จะประกอบด้วยข้อมูลที่มากกว่า 1 sheet โดย Sheet แรกจะเป็นผลการดำเนินงานในภาพรวมจำแนกตามหน่วยงาน ส่วนรายละเอียดประกอบผลการดำเนินงานจะอยู่ใน Sheet ถัดไปของ file เดียวกัน)
ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)
ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)
ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)
ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ (ต่อ)
มหาวิทยาลัยขอให้ผู้ประเมินใช้ฐานข้อมูลกลางตามที่เจ้าภาพหลักแจ้งผลการดำเนินงานผ่านศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาไว้เป็นสำคัญ หากหน่วยรับประเมินใดมีผลการดำเนินงานที่แตกต่างจากฐานข้อมูลกลางดังกล่าว ขอให้ผู้ประเมินตรวจสอบผลการดำเนินงานกับเอกสาร / หลักฐานตามเกณฑ์การประเมินให้สอดคล้องกัน หากพบว่า ข้อมูลที่เพิ่มเติมจากหน่วยรับประเมินถูกต้อง หน่วยรับประเมินจะต้องทำหนังสือแจ้งขอเพิ่มข้อมูลผลการดำเนินงาน พร้อมเอกสาร / หลักฐานที่เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ถึงรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน (ผ่านผู้อำนวยการศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา) โดยผู้ประเมินโปรดลงนามกำกับ เพื่อยืนยันความถูกต้อง หากมีข้อสงสัยใดๆ ขอให้ผู้ประเมินประสานงานกับศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาโดยทันที ข้อสังเกต
เนื่องจากมีตัวบ่งชี้เชิงปริมาณบางตัวบ่งชี้ที่มีการจัดทำข้อมูลคลาดเคลื่อน หรือมีการปรับข้อมูลเพิ่มขึ้น เนื่องจากเจ้าภาพมีเอกสาร / หลักฐานยืนยันเพิ่มเติมภายหลังจากที่ได้มีการส่งเล่มรายงานการประเมินตนเอง (SAR) เรียบร้อยแล้ว จึงขอให้ผู้ประเมิน เน้น การตรวจข้อมูลเชิงปริมาณจากฐานข้อมูลกลางที่อยู่ใน Website ของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาเปรียบเทียบกับรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของหน่วยงานให้สอดคล้องกัน เช่น ตัวบ่งชี้ที่ 2.9, 2.10, 2.12.6 เป็นต้น สำหรับตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ เกณฑ์บางตัวมีเจ้าภาพหลักดำเนินการให้ในภาพรวมของมหาวิทยาลัย หน่วยรับประเมินไม่สามารถดำเนินการได้เอง หน่วยรับประเมินจะใช้เอกสาร / หลักฐานร่วมกับของมหาวิทยาลัย โดยจะขึ้นต้นด้วยตัวอักษร “มสธ. .........” ดังนั้น จึงขอให้ผู้ประเมิน เน้น การตรวจเอกสาร / หลักฐานที่ขึ้นต้นด้วยอักษรย่อของหน่วยรับประเมิน เช่น เอกสาร / หลักฐานของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ จะใช้คำว่า “ศษ. 1.1 – 2 (1)” เป็นต้น แต่หากผู้ประเมินมีข้อแนะนำเกี่ยวกับเอกสาร / หลักฐานระดับมหาวิทยาลัย สามารถให้คำแนะนำเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา ข้อสังเกต (ต่อ)
ขอยกเว้นการตรวจประเมินตัวบ่งชี้ที่ 7.3 เนื่องจากได้มีการตรวจประเมินและประกาศผลโดยคณะกรรมการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยแล้ว โดยได้กำหนดให้หน่วยรับประเมินรายงานผลการประเมินที่ได้รับการรับรองโดยคณะกรรมการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยระบุไว้ใน (SAR) ดังนั้น จึงขอให้ผู้ประเมินตรวจสอบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของหน่วยรับประเมินกับผลการประเมินตามที่ได้รับการรับรองโดยคณะกรรมการฯ ซึ่งผู้ประเมินสามารถดูผลการประเมินของคณะกรรมการฯได้จากฐานข้อมูลกลางที่อยู่ใน Website ของศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษา ข้อสังเกต (ต่อ)
มหาวิทยาลัยได้ขอให้หน่วยรับประเมินทุกหน่วยงานจัดทำเอกสาร / หลักฐานเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ บันทึกลงแผ่นบันทึกข้อมูล (CD) เพื่อความสะดวกของทั้งหน่วยรับประเมิน และผู้ประเมิน ทั้งนี้ อาจมีบางหน่วยรับประเมินที่ยังคงมีข้อจำกัดในการจัดทำเอกสาร / หลักฐานเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ จึงยังคงเอกสาร / หลักฐานที่เป็นกระดาษ เนื่องจากคณะกรรมการประเมินในแต่ละหน่วยรับประเมินประกอบด้วยประธาน / กรรมการซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก จึงขอความกรุณาผู้ประเมินภายในแต่ละคณะ โปรดแจ้งแนวทางในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยฯ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกทราบด้วย หากมีข้อขัดข้องใดๆ ขอให้ผู้ประเมินประสานงานกับศูนย์ประสานงานการประกันคุณภาพการศึกษาโดยทันทีที่หมายเลขโทรศัพท์ 7182-5 ข้อสังเกต (ต่อ)
รูปแบบการรายงานผลการประเมินรูปแบบการรายงานผลการประเมิน 1. รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสาขาวิชา/หน่วยงานสนับสนุน ประกอบด้วยสาระประมาณ 10-15 หน้า ดังนี้ 1. รายนามคณะผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 1. .............................................................................. ประธานคณะผู้ประเมิน 2. .............................................................................. ผู้ประเมิน 3. .............................................................................. ผู้ประเมินและเลขานุการ 2. ชื่อหน่วยงานรับประเมิน ........................................................ 3. วันเดือนปี ที่ประเมิน....................................................... 4. วิธีการประเมิน 4.1 ศึกษารายงานประเมินตนเองของ............................................ 4.2 ศึกษาเอกสารหลักฐานของตัวบ่งชี้ต่างๆ 4.3 สัมภาษณ์บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือผู้เกี่ยวข้อง 4.3.1 ผู้บริหาร 4.3.2 กรรมการประกันคุณภาพของหน่วยงาน 4.3.3 ผู้ใช้บริการ/อื่นๆ............................................ 5. ผลการประเมินคุณภาพ (ตามตารางแบบ ป.1)
ตาราง ป.1 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ ประจำปีการศึกษา ..……..
6. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาหน่วยงานตามองค์ประกอบ (เน้นการใช้ PDCA) องค์ประกอบที่...................................................................................................................................................... จุดเด่น........................................................................................................................................ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... จุดที่ควรพัฒนา........................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... โอกาสในการพัฒนา/ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา..................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... 7. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของคณะผู้ประเมิน 7.1 การนำข้อเสนอแนะจากคณะผู้ประเมินในปีที่ผ่านมา (ปีการศึกษา 2551) มาพัฒนา / ปรับปรุง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ในภาพรวม .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
การให้คะแนนผลการประเมินการให้คะแนนผลการประเมิน • การคำนวณผลการประเมิน หากไม่เป็นเลขจำนวนเต็มให้แสดงผลโดยใช้ทศนิยม 2 หลัก และถ้ามีทศนิยมมากกว่า 2 หลัก ให้ใช้หลักการปัดเศษตามสากล โดยให้ปัดขึ้นจากทศนิยม ตำแหน่งที่ 3 เช่น 69.9945 ปัดเป็น 69.99 69.9956 ปัดเป็น 70.00 • หากตัวบ่งชี้ใดไม่มีข้อมูล หรือไม่มีผลดำเนินการให้มีผลประเมินเป็น 0 • การแปลผลการประเมิน คะแนนเต็ม 3 คะแนน • < 1.50 ผลการดำเนินงาน ยังไม่ได้คุณภาพ • 1.51 – 2.00 ผลการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับ พอใช้ • 2.01 – 2.50 ผลการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับ ดี • 2.51 – 3.00 ผลการดำเนินงานได้คุณภาพในระดับ ดีมาก
กำหนดส่งรายงานผลการประเมินกำหนดส่งรายงานผลการประเมิน • สำหรับผู้ที่ทำหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการจะได้รับเอกสาร / ข้อมูลเพิ่มเติม คือ • แผ่นบันทึกแบบรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2552 • โดยขอความร่วมมือในการส่งแบบรายงานฯ คืนอย่างช้าไม่เกิน 15 วัน • นับจากเสร็จสิ้นการประเมิน • ขอให้คณะกรรมการประเมินรายงานผลการประเมินแก่หน่วยรับประเมินด้วยวาจา • โดยมิให้ส่งเอกสารการรายงานผลการประเมินให้แก่หน่วยรับประเมิน • หลังจากมีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในครบทุกหน่วยงาน • ศปศ. จะจัดกิจกรรมการประชุมเชิงอภิมาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ • ผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระหว่างกรรมการร่วมกัน