1 / 27

ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557-2559

ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557-2559. ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2556. คำนำ.

josef
Download Presentation

ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557-2559

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีพ.ศ. 2557-2559 ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2556

  2. คำนำ แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557 - 2559 มีเป้าหมายสูงสุดภายใต้วิสัยทัศน์ “สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ” ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 13 กลยุทธ์ และ แผนงาน/โครงการ ที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล การรับฟังความคิดเห็นที่หลากหลาย จากผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบล คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร และจากตัวแทนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทั่วประเทศ ตามโครงการเวทีรับฟังความคิดเห็นยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 4 ภาค ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติได้จัดขึ้น จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นฯ มาผ่านกระบวนการวิเคราะห์กลั่นกรองจากคณะอนุกรรมการดำเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ทั้ง 4 คณะ และนำเสนอคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ เพื่อขอความเห็นชอบและอนุมัติให้ใช้แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557 - 2559 ฉบับนี้ สำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ จึงได้จัดทำเล่มแผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557 - 2559 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดภายใต้วิสัยทัศน์ “สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ” และผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์ที่แท้จริงต่อสตรีทุกระดับ ต่อไป สำนักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ สิงหาคม 2556

  3. สารบัญ

  4. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ Page 4

  5. อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2555) คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แผนงาน และแนวทางในการบริหารกองทุน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 2. จัดหาเงินทุนของกองทุน และกำหนดแนวทางการจัดสรรเงินให้แก่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบล เพื่อใช้จ่ายให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 3. เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือระเบียบ ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 4. รายงานผลเกี่ยวกับการใช้จ่าย การบริหาร การดำเนินงาน และรายงานการเงินของกองทุน เสนอต่อคณะรัฐมนตรี อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 5. ออกระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 6. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะกรรมการประเมินผล และคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานจังหวัด 7. แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหรือที่ปรึกษาในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร 8. พิจารณาและอนุมัติจ่ายเงินเพื่อสนับสนุนโครงการที่อยู่นอกเหนืออำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบล คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ โครงการดังกล่าวต้องอยู่ภายในวัตถุประสงค์ของกองทุน 9. วินิจฉัยชี้ขาดปัญหาที่เกิดจากการปฏิบัติตามระเบียบนี้ คำวินิจฉัยของคณะกรรมการให้ถือเป็นที่สุด 10. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อปฏิบัติงานอย่างหนึ่งอย่างใดที่เกี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 11. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย Page 5

  6. ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกับยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี ตามแผนพัฒนาสตรี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11(พ.ศ. 2555 – 2559) Page 6

  7. ความเชื่อมโยงประเด็นยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกับยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรี ตามแผนพัฒนาสตรี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ยุทธศาสตร์การพัฒนาสตรีตามแผนพัฒนาสตรีฯ ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพสตรี ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างเจตคติ และการยอมรับด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมของสตรีไทย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสุขภาวะ คุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาศักยภาพสตรีเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าร่วมในการตัดสินใจทางการเมือง การบริหาร และการตัดสินใจในระดับต่าง ๆ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพกลไกและองค์กรสตรีทุกระดับ Page 7

  8. ส่งเสริมบทบาทสตรีในการพัฒนาชุมชน/ ท้องถิ่น • พัฒนาขีดความสามารถสตรีในทุกมิติ • สงเคราะห์สตรีผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น • สนับสนุนการจัด กิจกรรมในการพัฒนา บทบาทสตรี หน่วยในการพัฒนาของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สตรี หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • บูรณาการการพัฒนาบทบาทสตรี • สนับสนุนการพัฒนาบทบาทสตรี ภายใต้ ภารกิจของหน่วยงาน • พัฒนาศักยภาพการทำงาน เกี่ยวข้องกับสตรี • ส่งเสริมให้ทำงาน วิเคราะห์ วิจัย เพื่อ การพัฒนาสตรี • ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมพัฒนาศักยภาพสตรี องค์กรประชาสังคม องค์กรเอกชน • ส่งเสริมบทบาทสตรีใน การพัฒนาชุมชน • สนับสนุนการเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันแก่สตรี • พัฒนาศักยภาพเครือข่ายองค์กรสตรี • สนับสนุนการจัดกิจกรรม การพัฒนาศักยภาพสตรี • บูรณาการความร่วมมือการพัฒนา ส สตรี • ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการบริหารกลุ่มองค์กรสตรี Page 8

  9. การบริหารงานทั่วไป เลขานุการคณะกรรมการ ทะเบียนข้อมูลสมาชิกและกองทุน ยุทธศาสตร์ การบริหารและพัฒนาองค์กร กระบวนการ พัฒนาศักยภาพกรรมการและกองทุน การบริหารกองทุน ICT การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล การเงินการบัญชี กฏหมาย สื่อสารประชาสัมพันธ์กองทุน พัสดุครุภัณฑ์ และอาคารสถานที่ Page 9

  10. แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีพ.ศ. 2557 - 2559 Page 10

  11. แผนที่ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557-2559 “สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ” กองทุนฯ เป็นแหล่งทุนในการพัฒนาศักยภาพสตรีให้มีความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์) มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) ที่ปรึกษาและเลขาฯที่รู้รอบ รู้ลึก ตั้งใจ แนวคิดและระบบการสนับสนุนเพื่อการบริหารกองทุนอย่างมีศักยภาพ ขับเคลื่อนนโยบายกองทุนฯของรัฐบาลอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูล การสนับสนุนและเครือข่ายความร่วมมือ เงินทุน โครงการ กิจกรรมที่เพิ่มศักยภาพให้เข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ หน่วยงานรัฐ/เอกชน NGO สตรี กลุ่มองค์กรและเครือข่าย คณะกรรมการกองทุนทุกระดับ รัฐบาล • พัฒนาศักยภาพสตรี • พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส • พัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ประเด็นยุทธศาสตร์) พัฒนาระบบบริหารสำนักงานกองทุนที่เอื้อต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนานวัตกรรม พัฒนาระบบการสนับสนุนการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน พัฒนาระบบ ITสนับสนุนการบริหารและการบริการ พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล เสริมสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมองค์กร มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร) Page 11

  12. แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2557 - 2559 วิสัยทัศน์ : สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ Page 12

  13. ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนพัฒนาศักยภาพสตรี ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพสตรี ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี Page 13

  14. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพสตรี Page 14

  15. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพสตรี สตรีทุกวัยมีทักษะชีวิต ค่านิยมสร้างสรรค์ ศักยภาพภาวะผู้นำ และบทบาทในการพัฒนา ภายใต้เจตคติที่ดี และความเสมอภาค มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์) มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) แนวทางและระบบการสนับสนุนในการบริหารกองทุนเพื่อพัฒนาศักยภาพสตรีอย่างมีประสิทธิภาพ เงินทุน โครงการ กิจกรรมที่เพิ่มศักยภาพ ภาวะผู้นำ และบทบาท ในการพัฒนา เงินทุน โครงการ กิจกรรมที่พัฒนาทักษะชีวิต และค่านิยมสร้างสรค์ ข้อมูล การสนับสนุนและเครือข่ายความร่วมมือ คณะกรรมการกองทุนทุกระดับ สตรี กลุ่มองค์กรและเครือข่าย หน่วยงานรัฐ/เอกชน NGO เยาวสตรี • พัฒนาศักยภาพผู้นำสตรีและสร้างภาวะผู้นำ • เสริมสร้างทักษะชีวิตและค่านิยมสร้างสรรค์ของเยาวสตรีไทย • ส่งเสริมบทบาทสตรีในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและการเมืองทุกระดับ ตามหลักธรรมาภิบาล • ส่งเสริมบทบาทสตรี และองค์กรสตรีในทุกระดับ มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (กลยุทธ์) พัฒนาระบบการสนับสนุนการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน พัฒนาระบบ ITสนับสนุนการบริหารและการบริการ ประสานบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง พัฒนากรอบความคิดและคู่มือ ส่งเสริมการจัดการความรู้ Page 15 มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร)

  16. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพสตรี เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : สตรีทุกวัยมีทักษะชีวิต ค่านิยมสร้างสรรค์ ศักยภาพภาวะผู้นำ และบทบาทในการพัฒนา ภายใต้เจตคติที่ดี และความเสมอภาค ผู้รับผิดชอบหลัก :คณะอนุฯ 1 ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : สตรีมีศักยภาพ สร้างเสริมทักษะชีวิตและค่านิยม สร้างสรรค์ของเยาวสตรีไทย พัฒนาศักยภาพ ผู้นำสตรี และสร้างภาวะผู้นำ กลยุทธ์ ส่งเสริมบทบาทสตรีและองค์กรสตรีในทุกระดับ ส่งเสริมบทบาทสตรี ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และการเมือง ทุกระดับ ตามหลัก ธรรมาภิบาล 1) ส่งเสริมการพัฒนาผู้นำสตรี 2) แสวงหาผู้นำสตรี ระดับชุมชน จังหวัด ประเทศ 3) ส่งเสริมการเป็นสตรี ต้นแบบทุกระดับ 1) ส่งเสริมและพัฒนาทักษะชีวิต แก่เยาวสตรี 2) เสริมสร้างเจตคติและค่านิยมสร้างสรรค์ของเยาวสตรีไทย 3) สร้างเครือข่าย เยาวสตรีไทย 4) ส่งเสริมบทบาทหญิงชาย ในการพัฒนารอบครัว 5) ส่งเสริมพัฒนาองค์กร บูรณาการการทำงานของเด็ก และเยาวชน 6) รณรงค์ให้สตรีไทยมีค่านิยมใช้ ของไทยอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย 7) สนับสนุนกิจกรรมของสภาเด็ก และเยาวชนทุกระดับ 1) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 2) ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ปลูกฝังค่านิยม จริยธรรมจรรยาบรรณ และอุดมการณ์ด้านจิตอาสา และจิตสาธารณะ ในการเข้าสู่การเป็นผู้นำ 3) แสวงหาแนวร่วมในการสนับสนุนสตรีที่มีศักยภาพให้เข้าสู่เวทีการเมือง 4) จัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชน และท้องถิ่น 5) ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การมีส่วนร่วม ประชาธิปไตย 6) ส่งเสริมการพัฒนาผู้นำสตรีแบบประชาธิปไตยและเพิ่มบทบาทสตรีทุกระดับให้เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง 1) ส่งเสริมการจัดเวทีสตรีระดับชาติ อาเซียน และนานาชาติ 2) เสริมสร้างภาพลักษณ์สตรีไทยสู่สากล 3) สนับสนุนทุนการศึกษา เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน 4) ส่งเสริมการเรียนรู้ทุกระดับ ชุมชน ชาติ อาเซียน โลก 5) ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายสตรีระดับชาติอาเซียน โลก แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด : 1. จำนวนที่เพิ่มขึ้นของผู้นำสตรีที่ดำรงตำแหน่งทางเมืองและการบริหารทุกระดับ 2. จำนวนผู้นำสตรีที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ

  17. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2ง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Page 17

  18. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สตรีมีอาชีพ มีรายได้ มีความสุข มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์) มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) แนวทางและระบบการสนับสนุนในการบริหารกองทุนเพื่อพัฒนาอาชีพฯอย่างมีประสิทธิภาพ เงินทุน โครงการ กิจกรรมเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงานสร้างรายได้ ข้อมูล การสนับสนุนและเครือข่ายความร่วมมือ เงินทุน โครงการ กิจกรรมเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงานสร้างรายได้ หน่วยงานรัฐ/เอกชน NGO สตรี กลุ่มองค์กรและเครือข่าย คณะกรรมการกองทุนทุกระดับ สตรีในและนอกภาคเกษตร ผู้ใช้แรงงานและผู้ประกอบการ • สนับสนุนการเข้าถึงองค์ความรู้ แหล่งทุน ทรัพยากร ปัจจัยเอื้อในการประกอบอาชีพและบริการต่าง ๆ • ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีผู้ประกอบการสตรีและให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้น • พัฒนาทักษะฝีมือและยกระดับฝีมือแรงงานสตรี มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (กลยุทธ์) ประสานบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบการสนับสนุนการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน พัฒนาระบบ ITสนับสนุนการบริหารและการบริการ พัฒนากรอบความคิดและคู่มือ ส่งเสริมการจัดการความรู้ มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร) Page 18

  19. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : สตรีในวัยแรงงานมีอาชีพที่มั่นคง และมีรายได้ สามารถพึ่งตนเองได้ ตามแนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบหลัก : คณะอนุฯ 2 ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : สตรีมีอาชีพมีรายได้มีความสุข พัฒนาทักษะฝีมือ และยกระดับฝีมือแรงงานสตรี สนับสนุนการเข้าถึงองค์ความรู้ แหล่งทุน ทรัพยากร ปัจจัยเอื้อในการประกอบอาชีพ และบริการต่าง ๆ ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีผู้ประกอบการสตรี และให้มีความรู้ ความสามารถเพิ่มขึ้น กลยุทธ์ 1) สร้างโอกาสในการหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ประกอบอาชีพและการบริหารจัดการเงินทุน 2) ให้กู้ยืมเงินเพื่อการประกอบอาชีพ (กรณีที่สตรี นับถืออิสลามให้เป็นไปตามหลักศาสนา อิสลาม) 3) ประสานแหล่งทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ 4) ส่งเสริม/จัดหาเครื่องมือการผลิตและทรัพย์สิน ร่วมของกลุ่ม และทรัพย์สินร่วมของกลุ่ม และ ใช้ประโยชน์จากเครื่องมือการผลิต และทรัพย์สิน ร่วมของกลุ่ม5) ส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่สมาชิกและ คณะกรรมการในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง6) ส่งเสริมการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่สมาชิกด้าน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชีพในชุมชน 1) ให้ความรู้ เพิ่มพูนทักษะอาชีพ 2) ให้ความรู้ด้านกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3) ส่งเสริมการมีงานทำสำหรับผู้ว่างงาน/ผู้ถูกเลิกจ้าง 4) จัดให้มีศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาเพื่อพัฒนาความรู้ และทักษะอย่างต่อเนื่อง 1) ให้ทุนการประกอบอาชีพ 2) จัดส่งเสริมการตลาด 3) ส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการผลิต การตลาด การบริหารจัดการ แก่สมาชิกกองทุนฯ4) ส่งเสริมการจัดทำแผนธุรกิจแก่สมาชิก5) จัดทำโครงการ 1 จังหวัด 1 ตำบลต้นแบบ 6) ประกวด และกิจกรรมจัดงานแสดง/จำหน่าย ผลผลิตและผลิตภัณฑ์อาชีพสตรี 7) ส่งเสริมเครือข่ายภาคเอกชน ภาครัฐ หนุนเสริม กลุ่มอาชีพสตรี 8.) ส่งเสริมการรวมกลุ่มและการจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชองผู้ประกอบการและ เครือข่ายผู้ประกอบการ9) ส่งเสริมการสร้างแบรนด์ของสินค้าของกองทุน พัฒนาบทบาทสตรี แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด : 1. ระดับความสำเร็จในการสนับสนุนให้สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีได้รับเงินกู้จากกองทุนไปประกอบอาชีพ 2. ร้อยละของรายได้สมาชิกที่ได้รับการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น

  20. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี และสตรีผู้ด้อยโอกาส Page 20

  21. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส สตรีมีสุขภาวะ มีความมั่นคงในชีวิต และสังคมมีเจตคติที่ดีต่อสตรี มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์) มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) แนวทางและระบบการสนับสนุนในการบริหารกองทุนเพื่อพัฒนาสุขภาวะ สิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ คุณภาพชีวิต และสวัสดิการชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพ เงินทุน โครงการ กิจกรรมเพื่อสร้างระบบคุ้มครอง ช่วยเหลือ และพิทักษ์สิทธิสตรี และปรับเจตคติ เงินทุน โครงการ กิจกรรมเพื่อพัฒนาสุขภาวะ อนามัยเจริญพันธุ์ คุณภาพชีวิต ข้อมูล การสนับสนุนและเครือข่ายความร่วมมือ หน่วยงานรัฐ/เอกชน NGO คณะกรรมการกองทุนทุกระดับ สตรี กลุ่มองค์กรและเครือข่าย สตรีทั่วไป และสตรีผู้ด้อยโอกาส • เสริมสร้างระบบในการช่วยเหลือ ดูแลสตรี และสตรีผู้ด้อยโอกาส • สนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน • ส่งเสริมสุขภาวะ และสิทธิอนามัย เจริญพันธุ์ของสตรีและเยาวสตรี มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (กลยุทธ์) ประสานบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบการสนับสนุนการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน พัฒนาระบบ ITสนับสนุนการบริหารและการบริการ พัฒนากรอบความคิดและคู่มือ ส่งเสริมการจัดการความรู้ มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร) Page 21

  22. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : สตรีมีสุขภาวะ มีความมั่นคงในชีวิต และสังคมมีเจตคติที่ดีต่อสตรี ผู้รับผิดชอบหลัก : คณะอนุฯ 3 ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : สนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน สตรีมี คุณภาพชีวิต ที่ดี กลยุทธ์ ส่งเสริมสุขภาวะและสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรีและเยาวสตรี เสริมสร้างระบบในการช่วยเหลือดูแลสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส 1. ให้ความรู้แก่สตรีเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการชุมชน ส่งเสริมการออม และสนับสนุนให้สตรีเป็นสมาชิกกองทุน 2. ส่งเสริมให้สตรีมีความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนที่มีประสิทธิภาพ 1. สนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคมแลเชื่อมโยง ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และดูแลแก้ไขปัญหาสตรี และสตรีผู้ด้อยโอกาส โดยการมีส่วนร่วมของคนใน ชุมชน (ระดับตำบล/อำเภอ/จังหวัด) 2. จัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายและข้อมูลสตรี/สตรีผู้ด้อยโอกาสและเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการช่วยเหลือ สตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส 3. ส่งเสริมให้สตรีมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการพัฒนา ศักยภาพสตรี รวมทั้งผู้นำชุมชน ให้มีความรู้เกี่ยวกับ ทักษะชีวิต สิทธิมนุษยชน บทบาทหญิงชาย และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4. สนับสนุนให้สตรีมีความรู้ด้านกฎหมาย รวมทั้งทักษะ ในการให้คำปรึกษา และส่งเสริมให้มีบทบาทในการ ช่วยเหลือสตรีที่ประสบปัญหา 5. สร้างความตระหนักแก่สื่อสารมวลชนให้นำเสนอ สื่อสร้างสรรค์ 1. เสริมสร้างเจตคติทีดี องค์ความรู้ด้านสุขภาวะ และสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ รวมทั้งกฎหมายความผิดเกี่ยวกับเพศแก่สตรี เยาวสตรี และผู้เกี่ยวข้อง 2. สร้างความตระหนักแก่ชุมชน และสนับสนุนการจัดกิจกรรม เกี่ยวกับสุขภาวะ อนามัยเจริญพันธุ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของตำบลที่มีสตรีเข้าร่วมการจัดสวัสดิการชุมชนหรือร่วมเป็นสมาชิกกองทุนเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละของตำบลที่มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคม เพื่อช่วยเหลือดูแลสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส 3. ร้อยละสตรีที่มีปัญหาด้านสุขภาวะ อนามัยเจริญพันธุ์ และสิทธิสตรีที่ลดลงต่อปี

  23. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาศักยภาพ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี Page 23

  24. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 พัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์) กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีมีระบบและการบริหารจัดการที่มีศักยภาพ มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) แนวทางและระบบการสนับสนุนเพื่อการบริหารกองทุน ที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมและบทบาทในการบริหารและพัฒนาบทบาทสตรี เงินทุน โครงการ กิจกรรมมีการจัดสรรอย่างทั่วถึง เป็นธรรม ข้อมูล การสนับสนุนและเครือข่ายความร่วมมือ สตรี สตรี กลุ่มองค์กรและเครือข่าย คณะกรรมการกองทุนทุกระดับ หน่วยงานรัฐ/เอกชน NGO • ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • สร้างเครือข่ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกระดับ • พัฒนาระบบสนับสนุนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (กลยุทธ์) ประสานบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบการสนับสนุนการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน พัฒนาระบบ ITสนับสนุนการบริหารและการบริการ พัฒนากรอบความคิดและคู่มือ ส่งเสริมการจัดการความรู้ Page 24 มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร)

  25. ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 4 พัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีมีระบบและการบริหารจัดการที่มีศักยภาพ ผู้รับผิดชอบหลัก : คณะอนุฯ 4 ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : การบริหาร จัดการ กองทุนฯมีศักยภาพ กลยุทธ์ พัฒนาระบบสนับสนุนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สร้างเครือข่ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกระดับ 1) การให้ความรู้ด้านการบริหารจัดการแก่กองทุนฯ อย่างมีมุมมองมิติหญิงชาย 2) พัฒนาและส่งเสริมศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ทุกระดับ 3) ศึกษารูปแบบวิธีการบริหารจัดการกองทุนฯ และการจัดการความรู้ 1) การจัดตั้งสำนักงานกองทุนฯ ทุกระดับ 2) จัดเวทีแสดงความคิดเห็นเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์กองทุนฯ 3) บริหารระบบข้อมูลสารสนเทศ 4) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และพัฒนา ช่องทางการรับข้อมูล ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับกองทุนฯ 5) ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน กองทุนฯ 1) สร้างและพัฒนาเครือข่ายสตรี ทุกภาคส่วน ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของคณะกรรมการกองทุนฯ ทุกระดับมีความรู้ความเข้าใจ และมีศักยภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการกองทุน และการจัดการความรู้ คะแนน ๑= ศึกษาการดำเนินงานกองทุน คะแนน ๒= วิเคราะห์ผลการศึกษาการดำเนินงานกองทุน คะแนน ๓= การจัดการความรู้ที่ได้จากการศึกษาการดำเนินงานกองทุนฯ คะแนน ๔ = พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการดำเนินงานกองทุน 3. ระดับความสำเร็จในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานกองทุน คะแนน ๑= มีการจัดทำคู่มือฯ สำหรับกรรมการ คะแนน ๒= มีการจัดทำเอกสารเผยแพร่แก่สมาชิกกองทุนฯ และประชาชนทั่วไป คะแนน ๓= มีการผลิตสื่อเพื่อสร้างความเข้าใจ และเผยแพร่ผลการดำเนินงานทางวิทยุ คะแนน ๔= มีการผลิตสื่อเพื่อสร้างความเข้าใจ และเผยแพร่ผลการดำเนินงานทางโทรทัศน์คะแนน ๕= มีการแสวงหาความร่วมมือกับสื่อมวลชนทุกระดับ

  26. ตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์ตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตร์ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีพัฒนาสตรี พ.ศ. 2557 - 2559 Page 26

  27. ตัวชี้วัดความสำเร็จของยุทธศาสตร์กองทุนตัวชี้วัดความสำเร็จของยุทธศาสตร์กองทุน • สตรีมีศักยภาพ • สตรีมีอาชีพ มีรายได้ มีความสุข พัฒนาศักยภาพสตรี พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีและสตรีผู้ด้อยโอกาส พัฒนาศักยภาพกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • การบริหารจัดการกองทุนฯ มีศักยภาพ • สตรีมีคุณภาพชีวิตที่ดี Page 27

More Related